ชะตากรรมเกษตรไทย ภายใต้เงื่อนไขทุนต่างชาติ / ดวงฤทัย เอสะนาชาตัง

By: ดวงฤทัย เอสะนาชาตังCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เกษตรกร | เกษตรกรรม | SCI-TECH In: โลกสีเขียว ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มีนาคม-เมษายน 2542) หน้า 24 - 33Summary: ท่ามกลางกระแสข่าว การเร่งรัดฟื้นฟู สภาพเศรษฐกิจ ที่ตกต่ำ มาตั้งแต่ปีที่แล้ว รัฐบาลไทย ได้ลงนาม ในบันทึกความเข้าใจ หรือที่เรียก กันทั่วไปว่า MOU กับธนาคาร เพื่อการพัฒนาเอเชีย หรือเอดีบี ไปเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2542 เพื่อเป็นกรอบการ รับรู้ร่วมกัน ระหว่างเอดีบี และกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กับกระทรวง การคลังในนามของรัฐบาลไทย ในการขอกู้เงินจำนวน300ล้านเหรียญสหรัฐSummary: และเพื่อให้แผนการใช้ ภาคเกษตร ในการช่วย บรรเทาผลกระทบ จากวิกฤติทางเศรษฐกิจ ของกระทรวงเกษตรฯ เป็นในเอกสารประกอบ การประชุมการจัดสรร เงินกู้ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในภาคเกษตรกรรม ของคณะกรรมการ รัฐมนตรีว่าด้วย นโยบายเศรษฐกิจ ได้มีการ แบ่งแผนงาน ออกเป็น 2 แผน ตามระยะเวลา คือ แผนระยะเร่งรัด เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในช่วง 6-8 เดือน และแผนระยะ ปานกลาง ทั้งสองแผน กระทรวงเกษตรฯ (มีต่อ)Summary: ได้จัดทำขึ้น เพื่อเร่งรัดผลผลิต ทางภาคเกษตร โดยแผนระยะ เร่งรัดนี้ ยังมุ่งเน้นรองรับ แรงงานที่กลับคืน สู่ชนบทด้วย ในสาระสำคัญ ของแผนระยะ เร่งรัดมีดังนี้ 1. เน้นแผนงานพัฒนา คุณภาพ และการจัดการ ผลผลิตของเกษตรกร ให้มีการจัดตั้งตลาดกลาง ปรับปรุง ขีดความสามารถ ทั้งในด้าน การผลิต และการตลาด ของสหกรณ์การเกษตรSummary: 2. ส่งเสริมระบบ เกษตรกรรม ทางเลือก สร้างเครือข่าย การเรียนรู้ ร่วมกัน ของกลุ่มเกษตรกร ที่ทำการเกษตรผสมผสาน 3. แผนงาน สนับสนุน ชุมชนปลูกป่า เพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง และเรียนรู้ ร่วมกันของ องค์กรท้องถิ่น ในการบริหาร การจัดการ ป่าไม้ในชุมชน วงเงินที่ กระทรวงเกษตรฯ ตั้งไว้สำหรับ ใช้ในแผนระยะ เร่งรัดนี้ ประมาณ 200 ล้านเหรียญสหรัฐ ในหนังสือ แสดงกรอบนโยบาย เพื่อการพัฒนา ที่กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ร่างขึ้น (มีต่อ)Summary: โดยความเห็นชอบจาก กระทรวงการคลัง ซึ่งจะจัดส่งไปถึง ประธานธนาคาร เพื่อการพัฒนาเอเชีย เพื่อเซ็นร่วมกัน ในการรับความช่วยเหลือ ในรูปเงินกู้ ภายใต้เงินทุน ปกติของธนาคาร สำหรับแผนงาน ภาคเกษตร เป็นจำนวนเงิน 300 ล้านเหรียญสหรัฐ ทั้งสองฝ่ายคือ เอดีบี และฝ่ายไทย (มีต่อ)Summary: ได้กำหนด จุดมุ่งหมาย ของแผนระยะปานกลางไว้ สามข้อหลัก ด้วยกัน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต การเพิ่มขีดความ สามารถในการ ส่งออกของผลผลิต ภาคเกษตร เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และปรับโครงสร้างองค์กร และสถาบัน ให้เข้มแข็ง เพื่อรองรับ การจัดการและปรับปรุง ระบบการบริหาร ขององค์กรต่างๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ท่ามกลางกระแสข่าว การเร่งรัดฟื้นฟู สภาพเศรษฐกิจ ที่ตกต่ำ มาตั้งแต่ปีที่แล้ว รัฐบาลไทย ได้ลงนาม ในบันทึกความเข้าใจ หรือที่เรียก กันทั่วไปว่า MOU กับธนาคาร เพื่อการพัฒนาเอเชีย หรือเอดีบี ไปเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2542 เพื่อเป็นกรอบการ รับรู้ร่วมกัน ระหว่างเอดีบี และกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กับกระทรวง การคลังในนามของรัฐบาลไทย ในการขอกู้เงินจำนวน300ล้านเหรียญสหรัฐ

และเพื่อให้แผนการใช้ ภาคเกษตร ในการช่วย บรรเทาผลกระทบ จากวิกฤติทางเศรษฐกิจ ของกระทรวงเกษตรฯ เป็นในเอกสารประกอบ การประชุมการจัดสรร เงินกู้ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในภาคเกษตรกรรม ของคณะกรรมการ รัฐมนตรีว่าด้วย นโยบายเศรษฐกิจ ได้มีการ แบ่งแผนงาน ออกเป็น 2 แผน ตามระยะเวลา คือ แผนระยะเร่งรัด เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ในช่วง 6-8 เดือน และแผนระยะ ปานกลาง ทั้งสองแผน กระทรวงเกษตรฯ (มีต่อ)

ได้จัดทำขึ้น เพื่อเร่งรัดผลผลิต ทางภาคเกษตร โดยแผนระยะ เร่งรัดนี้ ยังมุ่งเน้นรองรับ แรงงานที่กลับคืน สู่ชนบทด้วย ในสาระสำคัญ ของแผนระยะ เร่งรัดมีดังนี้ 1. เน้นแผนงานพัฒนา คุณภาพ และการจัดการ ผลผลิตของเกษตรกร ให้มีการจัดตั้งตลาดกลาง ปรับปรุง ขีดความสามารถ ทั้งในด้าน การผลิต และการตลาด ของสหกรณ์การเกษตร

2. ส่งเสริมระบบ เกษตรกรรม ทางเลือก สร้างเครือข่าย การเรียนรู้ ร่วมกัน ของกลุ่มเกษตรกร ที่ทำการเกษตรผสมผสาน 3. แผนงาน สนับสนุน ชุมชนปลูกป่า เพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง และเรียนรู้ ร่วมกันของ องค์กรท้องถิ่น ในการบริหาร การจัดการ ป่าไม้ในชุมชน วงเงินที่ กระทรวงเกษตรฯ ตั้งไว้สำหรับ ใช้ในแผนระยะ เร่งรัดนี้ ประมาณ 200 ล้านเหรียญสหรัฐ ในหนังสือ แสดงกรอบนโยบาย เพื่อการพัฒนา ที่กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ร่างขึ้น (มีต่อ)

โดยความเห็นชอบจาก กระทรวงการคลัง ซึ่งจะจัดส่งไปถึง ประธานธนาคาร เพื่อการพัฒนาเอเชีย เพื่อเซ็นร่วมกัน ในการรับความช่วยเหลือ ในรูปเงินกู้ ภายใต้เงินทุน ปกติของธนาคาร สำหรับแผนงาน ภาคเกษตร เป็นจำนวนเงิน 300 ล้านเหรียญสหรัฐ ทั้งสองฝ่ายคือ เอดีบี และฝ่ายไทย (มีต่อ)

ได้กำหนด จุดมุ่งหมาย ของแผนระยะปานกลางไว้ สามข้อหลัก ด้วยกัน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต การเพิ่มขีดความ สามารถในการ ส่งออกของผลผลิต ภาคเกษตร เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และปรับโครงสร้างองค์กร และสถาบัน ให้เข้มแข็ง เพื่อรองรับ การจัดการและปรับปรุง ระบบการบริหาร ขององค์กรต่างๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์