ขุมเพชรภารตะ สร้างถนนเชื่อมทั่วประเทศ

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | อินเดีย -- ถนน In: ข่าวช่าง ปีที่ 27 ฉบับที่ 326 (กรกฏาคม 2542) หน้า 66-69Summary: อินเดียนับได้ว่า เป็นประเทศ ที่มีเครือข่าย ถนนหนทาง ขนาด ใหญ่ที่สุด เป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา โดยมี ระยะทาง รวมทั้งสิ้นกว่า 2.9 ล้านกิโลเมตร แต่กระนั้นก็ตาม อินเดีย ก็เหมือนกับ บรรดาประเทศที่ กำลังพัฒนา ทั้งหลายที่ว่า (มีต่อ)Summary: จำนวนถนนดังกล่าว ยังถือว่า ไม่พอเพียงต่อ การใช้สอยอยู่มาก ในขณะที่ อัตราการใช้ถนน ของบรรดา ยวดยานพาหนะ ขับเคลื่อน ด้วยเครื่องยนต์ ในประเทศที่มี ประชากรมาก เป็นอันดับ 2 ของโลกแห่งนี้ ได้เพิ่มขึ้นจาก 300,000 คัน (มีต่อ)Summary: ในปี 1951 เป็น 27.5 ล้านในปี 1995 หรือประมาณ 90 เท่าตัว แต่การขยาย เครือข่ายถนน เพิ่มขึ้นเพียง 7 เท่าจาก 400,000 ก.ม. มาอยู่ใน ระดับปัจจุบัน เครื่อข่ายถนน ไม่ทันสมัย อย่างไรก็ตาม สิ่งเหล่านี้ กำลังจะเปลี่ยนไป (มีต่อ)Summary: เมื่อรัฐบาลอินเดีย มีแผน งานที่จะก่อสร้าง ถนนขนาด 6 ช่องทาง เชื่อมต่อภาคเหนือใต้ และภาคตะวันออก-ตะวันตกของประเทศ ว่ากันว่า เป็นแผนการลงทุน ด้านการก่อสร้าง ทางขนาดใหญ่ที่สุด ในโลกขณะนี้ โดยแผนการก่อสร้าง ทางด่วน และทางด่วนพิเศษ จะเป็นการปรับรูปแบบ (มีต่อ)Summary: จากที่รัฐบาลอินเดีย เคยใช้อยู่อย่างสิ้นเชิง ซึ่งในอดีต จะมุ่งเน้น การพัฒนาทางหลวง ระดับชาติ และระดับรัฐ ควบคู่ไปกับถนนต่างๆ ตามท้องที่ชนบท เนื่องจาก แผนโครงการ ต้องใช้ งบลงทุนมหาศาล รัฐบาลอินเดีย จึงเปิดกว้าง ต่อแนวทาง การลงทุนที่หลากหลาย (มีต่อ)Summary: และที่น่าสนใจที่สุด ช่วงนี้คือ การลงทุน จากภาคเอกชน ของต่างประเทศ และเพื่อรองรับ การลงทุน ลักษณะนี้ รัฐบาลอิานเดีย ก็กำลังเร่งรีบ ปรับปรุง ตัวบทกฏหมาย ที่เกี่ยวข้อง และจำเป็น เพื่อให้แผน การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งในจำนวนนี้ รวมถึงการเสนอ ปรับภาษี น้ำมันเชื้อเพลิง (มีต่อ)Summary: เพื่อการพัฒนาถนน เป็นการพิเศษอีกด้วย จากตัวเลขสถิติทางการ พบว่าปัจจุบัน ถนนได้กลายเป็น ทางสัญจรหลัก ของชาวอินเดีย จากเดิมที่เคย ให้ความนิยม ใช้บริการถไฟ ขณะนี้ทางหลวง ในอินเดีย ได้ถูกใช้ เป็นทางสัญจร ของยานพาหนะ หลากชนิด (มีต่อ)Summary: ไม่ว่าจะเป็น เกวียน ฝูงสัตว์ และรถทุกประเภท การขนส่งทางถนน ได้เพิ่มขึ้น จากอัตรา 6 พันล้านตันต่อ ก.ม. ในปี 1951 เป็น 4 แสนล้านตัน ต่อก.ม. และการจราจร ของผู้โดยสาร เพิ่มจาก 2.3 หมื่นล้านคน ต่อก.ม. (มีต่อ)Summary: และคาดว่าในปี 2001 การขนส่งทางถนน จะเพิ่มขึ้นเป็น 8 แสนล้านตันต่อ ก.ม. และผู้โดยสารเพิ่มเป็น 3 ล้านคน ต่อก.ม. อัตราเติบโต ของ จราจร มากกว่าถนน อัตราการขยายตัว ในแต่ละปี ของการจราจร บนท้องถนน คาดว่า อยู่ที่ประมาณ 9%-10 %
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

อินเดียนับได้ว่า เป็นประเทศ ที่มีเครือข่าย ถนนหนทาง ขนาด ใหญ่ที่สุด เป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา โดยมี ระยะทาง รวมทั้งสิ้นกว่า 2.9 ล้านกิโลเมตร แต่กระนั้นก็ตาม อินเดีย ก็เหมือนกับ บรรดาประเทศที่ กำลังพัฒนา ทั้งหลายที่ว่า (มีต่อ)

จำนวนถนนดังกล่าว ยังถือว่า ไม่พอเพียงต่อ การใช้สอยอยู่มาก ในขณะที่ อัตราการใช้ถนน ของบรรดา ยวดยานพาหนะ ขับเคลื่อน ด้วยเครื่องยนต์ ในประเทศที่มี ประชากรมาก เป็นอันดับ 2 ของโลกแห่งนี้ ได้เพิ่มขึ้นจาก 300,000 คัน (มีต่อ)

ในปี 1951 เป็น 27.5 ล้านในปี 1995 หรือประมาณ 90 เท่าตัว แต่การขยาย เครือข่ายถนน เพิ่มขึ้นเพียง 7 เท่าจาก 400,000 ก.ม. มาอยู่ใน ระดับปัจจุบัน เครื่อข่ายถนน ไม่ทันสมัย อย่างไรก็ตาม สิ่งเหล่านี้ กำลังจะเปลี่ยนไป (มีต่อ)

เมื่อรัฐบาลอินเดีย มีแผน งานที่จะก่อสร้าง ถนนขนาด 6 ช่องทาง เชื่อมต่อภาคเหนือใต้ และภาคตะวันออก-ตะวันตกของประเทศ ว่ากันว่า เป็นแผนการลงทุน ด้านการก่อสร้าง ทางขนาดใหญ่ที่สุด ในโลกขณะนี้ โดยแผนการก่อสร้าง ทางด่วน และทางด่วนพิเศษ จะเป็นการปรับรูปแบบ (มีต่อ)

จากที่รัฐบาลอินเดีย เคยใช้อยู่อย่างสิ้นเชิง ซึ่งในอดีต จะมุ่งเน้น การพัฒนาทางหลวง ระดับชาติ และระดับรัฐ ควบคู่ไปกับถนนต่างๆ ตามท้องที่ชนบท เนื่องจาก แผนโครงการ ต้องใช้ งบลงทุนมหาศาล รัฐบาลอินเดีย จึงเปิดกว้าง ต่อแนวทาง การลงทุนที่หลากหลาย (มีต่อ)

และที่น่าสนใจที่สุด ช่วงนี้คือ การลงทุน จากภาคเอกชน ของต่างประเทศ และเพื่อรองรับ การลงทุน ลักษณะนี้ รัฐบาลอิานเดีย ก็กำลังเร่งรีบ ปรับปรุง ตัวบทกฏหมาย ที่เกี่ยวข้อง และจำเป็น เพื่อให้แผน การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งในจำนวนนี้ รวมถึงการเสนอ ปรับภาษี น้ำมันเชื้อเพลิง (มีต่อ)

เพื่อการพัฒนาถนน เป็นการพิเศษอีกด้วย จากตัวเลขสถิติทางการ พบว่าปัจจุบัน ถนนได้กลายเป็น ทางสัญจรหลัก ของชาวอินเดีย จากเดิมที่เคย ให้ความนิยม ใช้บริการถไฟ ขณะนี้ทางหลวง ในอินเดีย ได้ถูกใช้ เป็นทางสัญจร ของยานพาหนะ หลากชนิด (มีต่อ)

ไม่ว่าจะเป็น เกวียน ฝูงสัตว์ และรถทุกประเภท การขนส่งทางถนน ได้เพิ่มขึ้น จากอัตรา 6 พันล้านตันต่อ ก.ม. ในปี 1951 เป็น 4 แสนล้านตัน ต่อก.ม. และการจราจร ของผู้โดยสาร เพิ่มจาก 2.3 หมื่นล้านคน ต่อก.ม. (มีต่อ)

และคาดว่าในปี 2001 การขนส่งทางถนน จะเพิ่มขึ้นเป็น 8 แสนล้านตันต่อ ก.ม. และผู้โดยสารเพิ่มเป็น 3 ล้านคน ต่อก.ม. อัตราเติบโต ของ จราจร มากกว่าถนน อัตราการขยายตัว ในแต่ละปี ของการจราจร บนท้องถนน คาดว่า อยู่ที่ประมาณ 9%-10 %