Balanced Scorecard คืออะไร / พรสรัญ รุ่งเจริญกิจกุล

By: พรสรัญ รุ่งเจริญกิจกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ธุรกิจ | การจัดการธุรกิจ In: การเงินธนาคาร ปีที่ 21 ฉบับที่ 241 (พฤษภาคม 2545) หน้า 202-204Summary: Balanced Scorecard (BSC) มีความหมายคือ Balance แปลว่า สมดุล คำว่า Scorecard แปลว่า บัตรจดแต้ม สองตัวรวมกันแปลว่าบัตรจดแต้มที่สมดุล BSC จะเป็นตัวช่วยแปลงยุทธ์ต่างๆ ของกิจการให้เป็นสิ่งที่จับต้องได้ และวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม เพราะสิ่งที่วัดผลได้ย่อมบริหารได้ง่ายกว่า อะไรที่วัดผลไม่ได้ก็ย่อมไม่สามารถบริหารให้เกิดประสิทธิภาพได้ (มีต่อ)Summary: ในอดีตองค์รต่างๆ จะมุ่งวัดผลเฉพาะด้านการเงินเป็นหลัก แต่ข้อมูลเหล่านั้นสะท้อนผลประกอบการในอดีตและฐานะการเงินในปัจจุบัน ไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตขององค์กรในระยะยาว ปัจจุบันนี้ลักษณะการประกอบธุรกิจได้เปลี่ยนแปลงไปมาก วิธีการวัดผลแบบบดั้งเดิมจึงไม่เพียงพออีกต่อไป (มีต่อ)Summary: และการดำเนินงานในยุคใหม่จะพบว่ามีลักษณะที่สำคัญดังนี้ 1.ทำงานประสานงานกันหลายฝ่ายงาน 2.การเชื่อมโยงกับลูกค้าและซัพพลายเออร์ 3.การแบ่งกลุ่มลูกค้า 4.ขนาดใหญ่ระดับโลก 5.นวัตกรรม 6.คนทำงานที่มีความรู้ ด้วยกรอบความคิดดังกล่าว หลักการของ BSC จึงประกอบด้วย 4 มุมมองคือ (มีต่อ)Summary: 1.มุมมองด้านการเงิน 2.มุมมองด้านลูกค้า 3.มุมมองด้านกระบวนการภายใน 4.มุมมองด้านการเรียนรู้และเติบโต ซึ่งมุมมองของ BSC แต่ละมุมมองจะมุ่งเน้นการสร้างความสามารถในการแข่งขันในระยะยาวโดยไม่เพียงคำนึงถึงการวัดผลทางการเงิน แต่รวมถึงมาตรการขับเคลื่อนการดำเนินงานในอนาคตด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

Balanced Scorecard (BSC) มีความหมายคือ Balance แปลว่า สมดุล คำว่า Scorecard แปลว่า บัตรจดแต้ม สองตัวรวมกันแปลว่าบัตรจดแต้มที่สมดุล BSC จะเป็นตัวช่วยแปลงยุทธ์ต่างๆ ของกิจการให้เป็นสิ่งที่จับต้องได้ และวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม เพราะสิ่งที่วัดผลได้ย่อมบริหารได้ง่ายกว่า อะไรที่วัดผลไม่ได้ก็ย่อมไม่สามารถบริหารให้เกิดประสิทธิภาพได้ (มีต่อ)

ในอดีตองค์รต่างๆ จะมุ่งวัดผลเฉพาะด้านการเงินเป็นหลัก แต่ข้อมูลเหล่านั้นสะท้อนผลประกอบการในอดีตและฐานะการเงินในปัจจุบัน ไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตขององค์กรในระยะยาว ปัจจุบันนี้ลักษณะการประกอบธุรกิจได้เปลี่ยนแปลงไปมาก วิธีการวัดผลแบบบดั้งเดิมจึงไม่เพียงพออีกต่อไป (มีต่อ)

และการดำเนินงานในยุคใหม่จะพบว่ามีลักษณะที่สำคัญดังนี้ 1.ทำงานประสานงานกันหลายฝ่ายงาน 2.การเชื่อมโยงกับลูกค้าและซัพพลายเออร์ 3.การแบ่งกลุ่มลูกค้า 4.ขนาดใหญ่ระดับโลก 5.นวัตกรรม 6.คนทำงานที่มีความรู้ ด้วยกรอบความคิดดังกล่าว หลักการของ BSC จึงประกอบด้วย 4 มุมมองคือ (มีต่อ)

1.มุมมองด้านการเงิน 2.มุมมองด้านลูกค้า 3.มุมมองด้านกระบวนการภายใน 4.มุมมองด้านการเรียนรู้และเติบโต ซึ่งมุมมองของ BSC แต่ละมุมมองจะมุ่งเน้นการสร้างความสามารถในการแข่งขันในระยะยาวโดยไม่เพียงคำนึงถึงการวัดผลทางการเงิน แต่รวมถึงมาตรการขับเคลื่อนการดำเนินงานในอนาคตด้วย