มูลค่าการใช้ประโยชน์ของป่าที่สถานีวนวัฒนวิจัยหนองคู จังหวัดสุรินทร์ ฐานันดร เพชรดี และ สันติ สุขสอาด

By: ฐานันดร เพชรดีContributor(s): สันติ สุขสอาดCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ทรัพยากรธรรมชาติ | ป่าไม้ In: วนศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) หน้า 99 - 107Summary: ปัจจุบันการเก็บหาของป่าของราษฎรเป็นเรื่องที่ยากลำบากเนื่องจากมีการบังคับใช้กฏหมายที่เข้มงวด โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มิใช่ป่าชุมชน มักประสบปัญหาความขัดแย้งระหว่าภาครัฐกับภาคประชาชน เมื่อความต้องการของราษฎรกับการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐสวนทางกัน ส่งผลให้เกิดปัญหาการบุกรุกป่าเพื่อขยายพื้นที่ทำมาหากิน การลักลอบค้าสัตว์ป่า หรือแม้กระทั่งการเก็บหาของป่าโดยมิได้รับอนุญาต ทั้งที่ยังมีพื้นที่ป่าที่มีระบบการจัดการป่าไม้ภายใต้หลักการการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชน โดยเปิดโอกาสให้ราษฎรสามารถเข้าไปเก็บหาของป่าได้โดยมีการกำหนดกติกาภายใต้กรอบกฏหมาย ซึ่งกำหนดโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้นำชุมชน และการรวมกลุ่มกันของราษฎรในพื้นที่ เพื่อการบริหารจัดการให้มีการใช้ประโยชน์จากป่าได้อย่างยั่งยืน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบันการเก็บหาของป่าของราษฎรเป็นเรื่องที่ยากลำบากเนื่องจากมีการบังคับใช้กฏหมายที่เข้มงวด โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มิใช่ป่าชุมชน มักประสบปัญหาความขัดแย้งระหว่าภาครัฐกับภาคประชาชน เมื่อความต้องการของราษฎรกับการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐสวนทางกัน ส่งผลให้เกิดปัญหาการบุกรุกป่าเพื่อขยายพื้นที่ทำมาหากิน การลักลอบค้าสัตว์ป่า หรือแม้กระทั่งการเก็บหาของป่าโดยมิได้รับอนุญาต ทั้งที่ยังมีพื้นที่ป่าที่มีระบบการจัดการป่าไม้ภายใต้หลักการการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชน โดยเปิดโอกาสให้ราษฎรสามารถเข้าไปเก็บหาของป่าได้โดยมีการกำหนดกติกาภายใต้กรอบกฏหมาย ซึ่งกำหนดโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้นำชุมชน และการรวมกลุ่มกันของราษฎรในพื้นที่ เพื่อการบริหารจัดการให้มีการใช้ประโยชน์จากป่าได้อย่างยั่งยืน