การกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการบุกรุกของป่าต้นน้ำที่อุทยานแห่งชาติดอยภูคา จังหวัดน่าน ทิพย์กมล สนสับ, วันชัย อรุณประภารัตน์ และ นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์

By: ทิพย์กมล สนสับContributor(s): วันชัย อรุณประภารัตน์ | นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ป่าไม้ | ทรัพยากรธรรมชาติ In: วนศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561) หน้า 60 - 70Summary: ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะชุมชนที่พึงพาอาศัยทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ในการดำรงชีพ ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้มากถึงร้อยละ 43.21 ของพื้นที่ประเทศ ภายในระยะเวลา 20 ปี พื้นที่ป่าไม้ในประเทศลดลงไปมาก จากการสำรวจพบว่าพื้นที่ป่าไม้รวมทั้งป่าอนุรักษ์ถูกบุกรุกเปลี่บยแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยเฉพาะพื้นที่ป่าต้นน้ำก่อให้เกอดการเสื่อมโทรม ส่งผลให้เกิดอุทกภัยและภัยแล้ง ปัญหาเหล่านี้ยังมีอยู่อย่างต่อเนื่องและทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคเหนือ ลุ่มน้ำที่มีระดับความรุนแรงสูงสุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะชุมชนที่พึงพาอาศัยทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ในการดำรงชีพ ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้มากถึงร้อยละ 43.21 ของพื้นที่ประเทศ ภายในระยะเวลา 20 ปี พื้นที่ป่าไม้ในประเทศลดลงไปมาก จากการสำรวจพบว่าพื้นที่ป่าไม้รวมทั้งป่าอนุรักษ์ถูกบุกรุกเปลี่บยแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยเฉพาะพื้นที่ป่าต้นน้ำก่อให้เกอดการเสื่อมโทรม ส่งผลให้เกิดอุทกภัยและภัยแล้ง ปัญหาเหล่านี้ยังมีอยู่อย่างต่อเนื่องและทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคเหนือ ลุ่มน้ำที่มีระดับความรุนแรงสูงสุด