การใช้สารจิบเบอเรลริน และปุ๋ยยูเรียในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสม / อรพิน วัฒเนสก์, เล็ก จันทร์เกษม

By: อรพิน วัฒเนสก์Contributor(s): เล็ก จันทร์เกษมCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ข้าว -- วิจัย | ข้าว -- ปุ๋ย In: วิชาการเกษตร ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2541) หน้า 172-177Summary: ศึกษาผลของการใช้สารจิบเบอเรลลินและปุ๋ยยูเรียในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมให้มีการติดเมล็ดสูงและต้นทุนต่ำที่สถานีทดลองข้าวชัยนาทในปี พ.ศ. 2537-2538 โดยใช้สายพันธุ์ SPRLR 75055-325-2-1 เป็นสายพันธุ์แก้ความเป็นหมัน (สายพันธุ์ R) และสายพันธุ์ CNTA-10 (หรือ RD21A-10) เป็นสายพันธุ์เรณูเป็นหมัน (สายพันธุ์ A) ตกกล้าพันธุ์ R 3 รุ่น ห่างกันรุ่นละ 6 วัน (มีต่อ)Summary: ส่วนสายพันธุ์ A,R รุ่นที่ 2 มีอายุประมาณ 25 วัน ในอัตราส่วน R:A=3:6 แถว ซึ่งเป็นอัตราส่วนที่ให้เปอร์เซ็นต์การติดเมล็ดสูงสุดปักดำกอละ 1 ต้น ระยะปักดำ 20x20 ซม. พ่นสารจิบเบอเรลลินและยูเรียช่วงดอกบาน ผลการทดลองสรุปได้ว่า การพ่นสารจิบเบอเรลลิน ทำให้ความสูงของสายพันธุ์ A,R เพิ่มขึ้น (มีต่อ)Summary: ยิ่งเพิ่มอัตราความเข้มข้นจะยิ่งเพิ่มความสูง ส่วนการพ่น Urea 1.5% ไม่ทำให้ต้นข้าวสูงขึ้น การพ่นสารทั้ง 2 ชนิด ไม่ทำให้คอรวงยืดขึ้น แต่มีแนวโน้มลดลง กล่าวได้ว่า การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมในการศึกษานี้ ไม่จำเป็นต้องพ่นสารจิบเบอเรลลิน หรือ Urea เพียงแต่ตัดใบข้าวและช่วยให้มีการผสมข้ามดอกบานประมาณ 1 สัปดาห์ก็เพียงพอแล้ว
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ศึกษาผลของการใช้สารจิบเบอเรลลินและปุ๋ยยูเรียในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมให้มีการติดเมล็ดสูงและต้นทุนต่ำที่สถานีทดลองข้าวชัยนาทในปี พ.ศ. 2537-2538 โดยใช้สายพันธุ์ SPRLR 75055-325-2-1 เป็นสายพันธุ์แก้ความเป็นหมัน (สายพันธุ์ R) และสายพันธุ์ CNTA-10 (หรือ RD21A-10) เป็นสายพันธุ์เรณูเป็นหมัน (สายพันธุ์ A) ตกกล้าพันธุ์ R 3 รุ่น ห่างกันรุ่นละ 6 วัน (มีต่อ)

ส่วนสายพันธุ์ A,R รุ่นที่ 2 มีอายุประมาณ 25 วัน ในอัตราส่วน R:A=3:6 แถว ซึ่งเป็นอัตราส่วนที่ให้เปอร์เซ็นต์การติดเมล็ดสูงสุดปักดำกอละ 1 ต้น ระยะปักดำ 20x20 ซม. พ่นสารจิบเบอเรลลินและยูเรียช่วงดอกบาน ผลการทดลองสรุปได้ว่า การพ่นสารจิบเบอเรลลิน ทำให้ความสูงของสายพันธุ์ A,R เพิ่มขึ้น (มีต่อ)

ยิ่งเพิ่มอัตราความเข้มข้นจะยิ่งเพิ่มความสูง ส่วนการพ่น Urea 1.5% ไม่ทำให้ต้นข้าวสูงขึ้น การพ่นสารทั้ง 2 ชนิด ไม่ทำให้คอรวงยืดขึ้น แต่มีแนวโน้มลดลง กล่าวได้ว่า การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมในการศึกษานี้ ไม่จำเป็นต้องพ่นสารจิบเบอเรลลิน หรือ Urea เพียงแต่ตัดใบข้าวและช่วยให้มีการผสมข้ามดอกบานประมาณ 1 สัปดาห์ก็เพียงพอแล้ว