แบบหล่อคอนกรีต / ชนันต์ แดงประไพ

By: ชนันต์ แดงประไพCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การก่อสร้าง | วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง | SCI-TECH In: ข่าวช่าง ปีที่ 26 ฉบับที่ 303 (กรกฎาคม 2540) หน้า 54 - 56Summary: การทำ แบบหล่อคอนกรีต เป็นขั้นตอน การควบคุม คอนกรีต ที่เทให้ได้ รูปร่างและขนาด ตามที่กำหนด แบบหล่อคอนกรีต ใช้เป็นโครงสร้าง ชั่วคราวที่ รับน้ำหนัก ของตนเอง น้ำหนักวัสดุ และ คนงาน จนกว่าคอนกรีต จะได้อายุ การใช้งาน แบบหล่อ ที่ใช้งาน ในปัจจุบัน (มีต่อ)Summary: ทำจากวัสดุ หลายประเภท เช่น กระดาษ อะลูมิเนียม เป็นต้น การจะเลือกใช้ วัสดุ แบบใดนั้น ต้องคำนึง ถึงปัจจัย สามประการ เป็นหลัก คือ คุณภาพ ความปลอดภัย ในการใช้งาน และ ความประหยัด แต่ไมว่า จะเป็นแบบหล่อ ชนิดใด แบบหล่อที่ดี ต้องสามารถ ใช้งานได้ อย่างรวดเร็ว (มีต่อ)Summary: สะดวก ในการประกอบติดตั้ง และ การถอดแบบหล่อ เมื่อคอนกรีต ได้อายุตามที่กำหนด ดังนั้น นอกจาก แบบหล่อ ที่ใช้วิธีสร้าง โดยประกอบชิ้นส่วน แต่ละชิ้น จนสำเร็จ เป็นลักษณะ ที่ต้องการแล้ว ก็ยังได้มีการพัฒนา แบบหล่อ ที่มีลักษณะ การใช้งาน กึ่งสำเร็จรูปSummary: โดยประกอบ แบบหล่อ ให้เป็นรูปแบบถาวร เป็นชิ้นส่วน ขนาดใหญ่ เมื่อจะใช้งาน ก็ยกมา ประกอบติดตั้ง ให้เป็นรูปแบบ ที่ต้องการ ได้อย่างรวดเร็ว การถอดแบบ ก็สามารถ ทำได้ง่าย และ รวดเร็วด้วยเช่นกัน การพัฒนาลักษณะ ของแบบหล่อ คอนกรีต ดังกล่าวนั้น ก็เพื่อจะลด เวลาทำงาน ในขั้นตอนนี้Summary: ให้สั้นลง ซึ่งเป็นผลต่อ การลดต้นทุน ทำให้ผู้ประกอบ การก่อสร้าง สามารถแข่งขัน ในด้านราคา ได้อีกทางหนึ่ง แบบหล่อชนิด ที่ทำด้วยกระดาษ แบบหล่อชนิดนี้ มีใช้งาน มานานแล้ว และปัจจุบัน มีการนำมาใช้ อย่างแพร่หลาย มากขึ้น แต่ยังมี ข้อจำกัด ในรูปร่าง ลักษณะ ของงานหล่อ อยู่มาก ซึ่งนิยมใช้กัน ในรูปแบบ หล่อเสากลม โดยเฉพาะSummary: แบบหล่อที่ทำ ด้วยกระดาษนี้ จะมีน้ำหนักเบา สามารถยกย้าย ได้สะดวก ติดตั้งได้รวดเร็ว เมื่อเทคอนกรีตแล้ว ก็ไม่เสียรูปทรง เพราะแบบหล่อเสากลม จะรับแรงดัน ของคอนกรีต ได้เท่ากันรอบด้าน วัสดุของแบบหล่อ ซึ่งทำด้วย กระดาษ ยังสามารถ ดูดซับน้ำได้ดี (มีต่อ)Summary: จึงเป็นวัสดุ สำหรับบ่มคอนกรีต ได้ในตัว ข้อเสียของ แบบหล่อ ชนิดนี้อยู่ตรงที่ สามารถใช้งาน ได้ครั้งเดียว เพราะเมื่อใช้เป็น แบบหล่อคอนกรีตแล้ว เวลาจะถอดแบบ ก็ต้องรื้อกระดาษ ที่เป็นแบบหล่อออก จากกันSummary: แบบหล่อ คอนกรีต ชนิดไม้ ไม้ถูกนำมา ใช้เป็น แบบหล่อ คอนกรีต มาเป็นระยะ เวลาที่ยาวนานมาก เพราะแต่ก่อน ไม้หาได้ง่าย มีราคาถูก และสามารถ ประกอบแบบหล่อ ให้มีรูปร่างลักษณะต่างๆ ได้สะดวก รวดเร็ว การเลื่อยใส ตัดแต่ง ตลอดจน การตอกตะปู ก็สามารถ ทำได้สะดวก (มีต่อ)Summary: แต่ปัจจุบันหาไม้ได้ยาก เพราะ ทางราชการ ปิดป่า และงดสัมปทานตัดไม้ ราคาของไม้ จึงสูงขึ้น ทำให้ต้องเพิ่ม ต้นทุน ค่าก่อสร้าง ในส่วนที่เป็นไม้แบบ การนำไม้ มาใช้เป็น แบบหล่อจึงควรมี การจัดการที่ดี นอกจากนั้น ยังต้องควบคุม การตัดไม้ ยาวแทน แทนการเลือกใช้ไม้สั้น ที่มีอยู่ ซึ่งจะทำให้ เปลืองมากขึ้น (มีต่อ)Summary: ควรเก็บกองไม้ ที่จะใช้งาน ตามชนิดและขนาด ไม่ให้ปะปนกัน เพื่อสะดวก ในการนำไปใช้ การรื้อถอนแบบ ควรใช้เครื่องมือ และทำงานให้ถูกวิธี เพื่อให้เกิด ความเสียหาย ต่อไม้แบบ น้อยที่สุด ระวังการเกิด อัคคีภัย เพราะไม้แบบ เป็นวัสดุ เชื้อเพลิงอย่างดี (มีต่อ)Summary: แบบหล่อ ที่ทำด้วย เหล็ก เมื่อไม้ มีราคาแพง และ หายาก เหล็กจึงเป็น วัสดุที่ถูก เลือกมา ใช้งาน แทนไม้ แต่ก็ยังมี ข้อจำกัด ในการ ใช้เหล็ก ทำแบบหล่อ คอนกรีต ที่มีขนาดเล็ก และ รูปแบบไม้คงที่ เพราะ ไม่คุ้ม ต่อการ ลงทุน การใช้เหล็ก ทำแบบหล่อ จึงมุ่งไปที่ งานก่อสร้าง ขนาดใหญ่ และมีรูป แบบซ้ำๆ (มีต่อ)Summary: เพื่อสามารถ นำมา ใช้งานได้ โดยไม่มี ข้อจำกัด การออกแบบหล่อ ชนิดเหล็ก จึงต้อง พิจารณาถึง ขนาดที่ พอเหมาะ และลักษณะที่ สามารถนำมา ประกอบกันได้ รูปแบบ ที่หลากหลาย และ มีจำนวน เพียงพอที่จะ หมุนเวียน มาใช้งาน หล่อคอนกรีต ได้ทันเวลา ที่กำหนดไว้ ในแผนงาน แบบหล่อ ชนิดเหล็ก (มีต่อ)Summary: จะต้องมี โครงแบบ ที่แข็งแรง มีน้ำหนักเบา ความหนาของแบบ สามารถรับแรงดัน คอนกรีตได้ โดยไม่เสียรูป การประกอบ และ ถอดออก สามารถได้รวดเร็ว ดังนั้น วัสดุ ในการยึดต่อ ระหว่างแผ่น (มีต่อ)Summary: จึงควร ได้รับ การพิจารณา เป็นอย่างดี ให้มีความ สะดวก รวดเร็ว ในการ ใช้งาน การเก็บกอง แบบหล่อ ควรแยก ชนิด ขนาด การใช้งาน และ ทำความสะอาด แบบหล่อ ให้อยู่ ในสภาพ ใช้งานได้ ตลอดเวลา
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การทำ แบบหล่อคอนกรีต เป็นขั้นตอน การควบคุม คอนกรีต ที่เทให้ได้ รูปร่างและขนาด ตามที่กำหนด แบบหล่อคอนกรีต ใช้เป็นโครงสร้าง ชั่วคราวที่ รับน้ำหนัก ของตนเอง น้ำหนักวัสดุ และ คนงาน จนกว่าคอนกรีต จะได้อายุ การใช้งาน แบบหล่อ ที่ใช้งาน ในปัจจุบัน (มีต่อ)

ทำจากวัสดุ หลายประเภท เช่น กระดาษ อะลูมิเนียม เป็นต้น การจะเลือกใช้ วัสดุ แบบใดนั้น ต้องคำนึง ถึงปัจจัย สามประการ เป็นหลัก คือ คุณภาพ ความปลอดภัย ในการใช้งาน และ ความประหยัด แต่ไมว่า จะเป็นแบบหล่อ ชนิดใด แบบหล่อที่ดี ต้องสามารถ ใช้งานได้ อย่างรวดเร็ว (มีต่อ)

สะดวก ในการประกอบติดตั้ง และ การถอดแบบหล่อ เมื่อคอนกรีต ได้อายุตามที่กำหนด ดังนั้น นอกจาก แบบหล่อ ที่ใช้วิธีสร้าง โดยประกอบชิ้นส่วน แต่ละชิ้น จนสำเร็จ เป็นลักษณะ ที่ต้องการแล้ว ก็ยังได้มีการพัฒนา แบบหล่อ ที่มีลักษณะ การใช้งาน กึ่งสำเร็จรูป

โดยประกอบ แบบหล่อ ให้เป็นรูปแบบถาวร เป็นชิ้นส่วน ขนาดใหญ่ เมื่อจะใช้งาน ก็ยกมา ประกอบติดตั้ง ให้เป็นรูปแบบ ที่ต้องการ ได้อย่างรวดเร็ว การถอดแบบ ก็สามารถ ทำได้ง่าย และ รวดเร็วด้วยเช่นกัน การพัฒนาลักษณะ ของแบบหล่อ คอนกรีต ดังกล่าวนั้น ก็เพื่อจะลด เวลาทำงาน ในขั้นตอนนี้

ให้สั้นลง ซึ่งเป็นผลต่อ การลดต้นทุน ทำให้ผู้ประกอบ การก่อสร้าง สามารถแข่งขัน ในด้านราคา ได้อีกทางหนึ่ง แบบหล่อชนิด ที่ทำด้วยกระดาษ แบบหล่อชนิดนี้ มีใช้งาน มานานแล้ว และปัจจุบัน มีการนำมาใช้ อย่างแพร่หลาย มากขึ้น แต่ยังมี ข้อจำกัด ในรูปร่าง ลักษณะ ของงานหล่อ อยู่มาก ซึ่งนิยมใช้กัน ในรูปแบบ หล่อเสากลม โดยเฉพาะ

แบบหล่อที่ทำ ด้วยกระดาษนี้ จะมีน้ำหนักเบา สามารถยกย้าย ได้สะดวก ติดตั้งได้รวดเร็ว เมื่อเทคอนกรีตแล้ว ก็ไม่เสียรูปทรง เพราะแบบหล่อเสากลม จะรับแรงดัน ของคอนกรีต ได้เท่ากันรอบด้าน วัสดุของแบบหล่อ ซึ่งทำด้วย กระดาษ ยังสามารถ ดูดซับน้ำได้ดี (มีต่อ)

จึงเป็นวัสดุ สำหรับบ่มคอนกรีต ได้ในตัว ข้อเสียของ แบบหล่อ ชนิดนี้อยู่ตรงที่ สามารถใช้งาน ได้ครั้งเดียว เพราะเมื่อใช้เป็น แบบหล่อคอนกรีตแล้ว เวลาจะถอดแบบ ก็ต้องรื้อกระดาษ ที่เป็นแบบหล่อออก จากกัน

แบบหล่อ คอนกรีต ชนิดไม้ ไม้ถูกนำมา ใช้เป็น แบบหล่อ คอนกรีต มาเป็นระยะ เวลาที่ยาวนานมาก เพราะแต่ก่อน ไม้หาได้ง่าย มีราคาถูก และสามารถ ประกอบแบบหล่อ ให้มีรูปร่างลักษณะต่างๆ ได้สะดวก รวดเร็ว การเลื่อยใส ตัดแต่ง ตลอดจน การตอกตะปู ก็สามารถ ทำได้สะดวก (มีต่อ)

แต่ปัจจุบันหาไม้ได้ยาก เพราะ ทางราชการ ปิดป่า และงดสัมปทานตัดไม้ ราคาของไม้ จึงสูงขึ้น ทำให้ต้องเพิ่ม ต้นทุน ค่าก่อสร้าง ในส่วนที่เป็นไม้แบบ การนำไม้ มาใช้เป็น แบบหล่อจึงควรมี การจัดการที่ดี นอกจากนั้น ยังต้องควบคุม การตัดไม้ ยาวแทน แทนการเลือกใช้ไม้สั้น ที่มีอยู่ ซึ่งจะทำให้ เปลืองมากขึ้น (มีต่อ)

ควรเก็บกองไม้ ที่จะใช้งาน ตามชนิดและขนาด ไม่ให้ปะปนกัน เพื่อสะดวก ในการนำไปใช้ การรื้อถอนแบบ ควรใช้เครื่องมือ และทำงานให้ถูกวิธี เพื่อให้เกิด ความเสียหาย ต่อไม้แบบ น้อยที่สุด ระวังการเกิด อัคคีภัย เพราะไม้แบบ เป็นวัสดุ เชื้อเพลิงอย่างดี (มีต่อ)

แบบหล่อ ที่ทำด้วย เหล็ก เมื่อไม้ มีราคาแพง และ หายาก เหล็กจึงเป็น วัสดุที่ถูก เลือกมา ใช้งาน แทนไม้ แต่ก็ยังมี ข้อจำกัด ในการ ใช้เหล็ก ทำแบบหล่อ คอนกรีต ที่มีขนาดเล็ก และ รูปแบบไม้คงที่ เพราะ ไม่คุ้ม ต่อการ ลงทุน การใช้เหล็ก ทำแบบหล่อ จึงมุ่งไปที่ งานก่อสร้าง ขนาดใหญ่ และมีรูป แบบซ้ำๆ (มีต่อ)

เพื่อสามารถ นำมา ใช้งานได้ โดยไม่มี ข้อจำกัด การออกแบบหล่อ ชนิดเหล็ก จึงต้อง พิจารณาถึง ขนาดที่ พอเหมาะ และลักษณะที่ สามารถนำมา ประกอบกันได้ รูปแบบ ที่หลากหลาย และ มีจำนวน เพียงพอที่จะ หมุนเวียน มาใช้งาน หล่อคอนกรีต ได้ทันเวลา ที่กำหนดไว้ ในแผนงาน แบบหล่อ ชนิดเหล็ก (มีต่อ)

จะต้องมี โครงแบบ ที่แข็งแรง มีน้ำหนักเบา ความหนาของแบบ สามารถรับแรงดัน คอนกรีตได้ โดยไม่เสียรูป การประกอบ และ ถอดออก สามารถได้รวดเร็ว ดังนั้น วัสดุ ในการยึดต่อ ระหว่างแผ่น (มีต่อ)

จึงควร ได้รับ การพิจารณา เป็นอย่างดี ให้มีความ สะดวก รวดเร็ว ในการ ใช้งาน การเก็บกอง แบบหล่อ ควรแยก ชนิด ขนาด การใช้งาน และ ทำความสะอาด แบบหล่อ ให้อยู่ ในสภาพ ใช้งานได้ ตลอดเวลา