การย่อยสลายทางชีวภาพของพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลังและแป้งสาคู ดวงฤทัย เขมะไชเวช, ชนกชนม์ แสงจันทร์, พลพัฒน์ รวมเจริญ และ สุชีวรรณ ยอยรู้รอบ

By: ดวงฤทัย เขมะไชเวชContributor(s): ชนกชนม์ แสงจันทร์ | พลพัฒน์ รวมเจริญ | สุชีวรรณ ยอยรู้รอบCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): พลาสติก In: หน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) หน้า 60-70Summary: พลาสติก เป็นวัสดุในกลุ่มพอลิเมอร์ สังเคราะห์ขึ้นจากสารประกอบอินทรีย์ มีน้ำหนักโมเลกุลสูง สามารถหลอมขึ้นรูปเป็นของแข็งรูปทรงต่างๆ ได้ง่าย มีการนำมาใช้งานหลากหลายรูปแบบ เช่น ถุงพลาสติก ขวดน้ำ ภาชนะ บรรจุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ท่อประปา พลาสติกโดยทั่วไปสังเคราะห์จากปิโตรเคมี แต่ในปัจจุบันมีพลาสติกที่ทำจากทรัพยากรหมุนเวียนมากขึ้น เช่น ทำจากกรดพอลิแลกติกที่ได้จากข้าวโพด หรือเอทานอลที่ได้จากอ้อย อย่างไรก็ตามพลาสติกที่ทำจากวัสดุทางชีวภาพบางชนิดก็ไม่สามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พลาสติก เป็นวัสดุในกลุ่มพอลิเมอร์ สังเคราะห์ขึ้นจากสารประกอบอินทรีย์ มีน้ำหนักโมเลกุลสูง สามารถหลอมขึ้นรูปเป็นของแข็งรูปทรงต่างๆ ได้ง่าย มีการนำมาใช้งานหลากหลายรูปแบบ เช่น ถุงพลาสติก ขวดน้ำ ภาชนะ บรรจุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ท่อประปา พลาสติกโดยทั่วไปสังเคราะห์จากปิโตรเคมี แต่ในปัจจุบันมีพลาสติกที่ทำจากทรัพยากรหมุนเวียนมากขึ้น เช่น ทำจากกรดพอลิแลกติกที่ได้จากข้าวโพด หรือเอทานอลที่ได้จากอ้อย อย่างไรก็ตามพลาสติกที่ทำจากวัสดุทางชีวภาพบางชนิดก็ไม่สามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้