การสะกิดเพื่อส่งเสริมใช้ถุงพลาสติกชีวภาพด้วยเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมกับครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร อดุลย์ ศุภนัท, พีระ ตั้งธรรมรักษ์, ธนาคม ศรีศฤงคาร และ ณัฏฐ์ศุภณ ดำชื่น

By: อดุลย์ ศุภนัทContributor(s): พีระ ตั้งธรรมรักษ์ | ธนาคม ศรีศฤงคาร | ณัฏฐ์ศุภณ ดำชื่นCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): พลาสติกGenre/Form: ขยะพลาสติก In: วิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2565) หน้า 20-35Summary: พลาสติก เป็นวัสดุที่ถูกนำมาใช้งานได้อย่างกว้างขวาง และมีปริมาณการใช้งานในด้านต่างๆเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนอาจกล่าวได้ว่าพลาสติกเป็นวัสดุที่มีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันไปแล้ว ปัจจุบันการผลิตพลาสติกมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำ อีกทั้งยังมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สามารถผลิตพลาสติกให้มีคุณสมบัติตามความต้องการได้อย่างหลากหลาย เช่น ถุงใส่อาหาร บรรจุภัณฑ์ใส่อาหารและเครื่องดื่ม ฟิล์มถนอมอาหาร ของเล่นเด็ก อุปกรณ์ก่อสร้าง และ เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการผลิตพลาสติก จะมีการเพิ่มสารเติมแต่งบางชนิดลงไป ซึ่งสารเหล่านี้อาจปนเปื้อนสู่อาหาร หากมีการใช้งานพลาสติกที่ไม่ถูกวิธีหรือใช้ไม่เหมาะสมกับประเภทของพลาสติก อาจส่งผลก่อให้เกิดมะเร็ง และนำมาซึ่งผลกระทบต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พลาสติก เป็นวัสดุที่ถูกนำมาใช้งานได้อย่างกว้างขวาง และมีปริมาณการใช้งานในด้านต่างๆเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนอาจกล่าวได้ว่าพลาสติกเป็นวัสดุที่มีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันไปแล้ว ปัจจุบันการผลิตพลาสติกมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำ อีกทั้งยังมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สามารถผลิตพลาสติกให้มีคุณสมบัติตามความต้องการได้อย่างหลากหลาย เช่น ถุงใส่อาหาร บรรจุภัณฑ์ใส่อาหารและเครื่องดื่ม ฟิล์มถนอมอาหาร ของเล่นเด็ก อุปกรณ์ก่อสร้าง และ เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการผลิตพลาสติก จะมีการเพิ่มสารเติมแต่งบางชนิดลงไป ซึ่งสารเหล่านี้อาจปนเปื้อนสู่อาหาร หากมีการใช้งานพลาสติกที่ไม่ถูกวิธีหรือใช้ไม่เหมาะสมกับประเภทของพลาสติก อาจส่งผลก่อให้เกิดมะเร็ง และนำมาซึ่งผลกระทบต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆได้