000 04124nab a2200253 4500
001 vtls000000339
003 VRT
005 20231003150217.0
008 120521 1999 th qr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-34060
039 9 _a201312191118
_bVLOAD
_c201207042112
_dVLOAD
_y201205211706
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
245 0 0 _aเทคนิคการพ่นสารป้องกันกำจัดหนอนใยผัก /
_cมาลี ชวนะพงศ์ ... [และคนอื่นๆ]
520 _aได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบเทคนิคการพ่นสาร 2 วิธี คือวิธีการพ่นสารแบบน้ำมาก และแบบน้ำน้อย ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผัก Plutella xylostella (Linnaeuc) (Lepidoptera : Yponomeutidae) แมลงศัตรูสำคัญที่สุดของคะน้าในสภาพสวนผักแบบยกร่องที่มีน้ำล้อมรอบของเกษตรกร อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ระหว่างเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2542 วางแผนการทดลองแบบ RCB มี6 ซ้ำ 4กรรมวิธี แปลงย่อยขนาด 4.0 x 8.5 เมตร กำหนดเกณฑ์การพ่นสารเมื่อพบจำนวนหนอนเฉลี่ย 0.15 ตัว/ต้น (มีต่อ)
520 _aสารฆ่าแมลงแนะนำที่ใช้ในการป้องกันกำจัดหนอนใยผักในการศึกษาครั้งนี้คือ chlorfenapyr (Rampage 10% SC) และ abamectin (Vertimec 1.8% EC) โดยกำหนดให้ทุกกรรมวิธีได้รับเนื้อสารออกฤทธิ์ในอัตราเดียวกัน เริ่มพ่นสารฆ่าแมลงครั้งแรกเมื่อคะน้าอายุ 27วัน ซึ่งเป็นระยะที่หนอนในผักระบาด ทำลายคะน้าอย่างรุนแรงเฉลี่ย 35.4 ตัว/10ต้น ขณะพ่นสารใช้ฉากผ้าฝ้ายขนาด 5x10 เมตร ป้องกันการฟุ้งกระจายของละอองสาร (มีต่อ)
520 _aผลการศึกษาพบว่าวิธีการพ่นสารแบบน้ำน้อยด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบใช้แรงลม อัตราพ่นเฉลี่ย 19 ลิตร/ไร่ ให้ผลในการป้องกันกำจัดหนอนใยผักในคะน้าได้ดีที่สุด โดยให้ผลผลิตที่มีคุณภาพตลาดและรายได้สูงสุดไม่แตกต่างทางสถิติกับวิธีการพ่นสารแบบน้ำมากด้วยเครื่องยนต์พ่นสารแบบแรงดันน้ำสูง อัตราพ่นเฉลี่ย 109 ลิตร/ไร่ ซึ่งเป็นวิธีการพ่นสารที่เกษตรกรใช้อยู่ปัจจุบัน
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aแมลงศัตรูพืช
_xการควบคุม.
_9350
700 0 _aมาลี ชวนะพงศ์.
_91058
773 0 _tกีฏและสัตววิทยา
_gปีที่ 21 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2542) หน้า 243 - 251
_x0125-3794
942 _cSERIALS
999 _c339
_d339