เรือพื้นบ้าน กุญแจสู่การเรียนรู้วัฒนธรรม / (Record no. 1107)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04665nab a2200253 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000001107
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150539.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 2000 th br 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0001-10860
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191130
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042125
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211711
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name เกื้อเมธา ฤกษ์พรพิพัฒน์.
9 (RLIN) 798
245 10 - TITLE STATEMENT
Title เรือพื้นบ้าน กุญแจสู่การเรียนรู้วัฒนธรรม /
Statement of responsibility, etc. เกื้อเมธา ฤกษ์พรพิพัฒน์
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. คนไทยในอดีตใช้ชีวิตผูกพันกับสายน้ำตั้งแต่การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน การทำมาหากิน วัฒนธรรมประเพณีตลอดจนใช้เป็นเส้นทางคมนาคมสัญจร "เรือ" จึงไม่ได้มีความสำคัญเพียงแค่พาหนะสำหรับ โดยสารเดินทาง และลำเลียงข้าวของ เช่น บทบาทของรถยนต์ในสมัยปัจจุบัน หากแต่เกาะเกี่ยวสัมพันธ์กับการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างแนบแน่นและสอดคล้องกลมกลืน ไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า เรือลำแรกเกิดขึ้นเมื่อใด แต่เชื่อกันว่าการนำเรือขึ้นใช้ในระยะแรกนั้นเริ่มต้นจากการนำไม้ซุงมาขุด แล้วจึงพัฒนาเทคนิควิธีเป็นการต่อเรือ เพื่อสามารถกำหนดขนาดและรูปร่างของเรือให้เหมาะสมแก่การใช้งานที่หลากหลายได้มากขึ้น (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. การพิจารณาคัดเลือกชนิดไม้มาใช้ทำเรือหรือส่วนประกอบของเรือย่อมสุดแท้แต่วัตถุประสงค์ของผู้ใช้ ว่าต้องการนำเรือชนิดใด หรือส่วนประกอบใดของเรือ นิมิตร โชติพานิช ระบุว่าการทำเรือแต่ละประเภทนั้นต้องการความหนักเบาของไม้เหมือนกัน กล่าวคือหากต้องการเรือขนาดใหญ่ เพื่อใช้บรรทุกของจำนวนมาก และมีการใช้งานนาน ก็มักนิยมใช้ไม้ที่มีความแข็งแรงสูง หากทำเรือแจว เรือใบ ที่ต้องการน้ำหนักเบา เพือให้แล่นได้เร็วก็ใช้ไม้ที่ไม่ต้องการความแข็งแรงมากนัก แต่สำหรับไม้ยอดนิยมที่ชาวบ้าน มักนำมาใช้ทำเรือพื้นบ้านทั่วไปก็คือ ไม้ตะเคียน และไม้สัก เนื่องจากเป็นไม้เนื้อแข็งทนทานไม่ผุง่าย นอกจากความเหมาะสมของเนื้อไม้แล้ว ปัจจัยสำคัญอีกประการหนึ่งในการเลือกชนิดไม้ก็คือจะต้องเป็นไม้ที่หาได้ง่ายในภูมิประเทศแถบถิ่นนั้นด้วย
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element เรือ.
9 (RLIN) 2161
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element การต่อเรือ.
9 (RLIN) 2162
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title โลกสีเขียว
Related parts ปีที่ 9 ฉบับที่ 1(มีนาคม - เมษายน 2543) หน้า 87-91
International Standard Serial Number 0858-4761
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.