การวิจัยและประยุกต์ใช้ไคติน/ไคโตซานในประเทศไทย (Record no. 3454)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 05586 ab a2200277 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000003454
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003151413.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 2001 th br 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0008-62260
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191204
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042201
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211730
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
245 00 - TITLE STATEMENT
Title การวิจัยและประยุกต์ใช้ไคติน/ไคโตซานในประเทศไทย
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สารไคติน / ไคโตซาน จัดอยู่ในกลุ่มคาโบไฮเดรตผสมที่ประกอบด้วยอนุพันธ์ของน้ำตาลกลูโคสที่มีธาตุไนโตรเจนติดอยู่ด้วย ทำให้มีคุณสมบัติที่โดดเด่นและหลากหลายมีประสิทธิภาพสูงในกิจกรรมชีวิตภาพ และยังย่อยสลายได้ตามธรรมชาติจึงเป็นสารที่มีความปลอดภัยในการใช้กับมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งสารตัวนี้เป็นโพลิเมอร์ที่มีประจุบวก แต่มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถทำปฏิกิริยาเคมีเชิงซ้อนได้ด้วย ทำให้สารไคติน/ ไคโตซาน (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. มีลักษณะพิเศษในการนำมาใช้ดูดซับและจับตะกอนต่างๆ ในสารละลายแล้วนำสารกลับมาใช้ใหม่ได้ โครงสร้างทางเคมีของสารไคติน/ไคโตซานคล้ายคลึงกับเซลลูโลสคือ เป็นเส้นใยที่ยาว ไคตินที่เกิดในธรรมชาติมีโครงสร้างของผลึกที่แข็งแรงมีการจัดตัวของรูปแบบของผลึกเป็น 3 ลักษณะคือ แอลฟ่าไคติน, บีต้าไคติน และแกมม่าไคติน ส่วนไคตินที่เกิดขึ้นในเปลือกกุ้งและปู ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแอลฟ่าไคติน (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ส่วนไคตินที่อยู่ในปลาหมึกพบว่า ส่วนใหญ่เป็นบีต้าไคตินในการจัดเรียงตัวของโครงสร้างตามธรรมชาติพบว่าแอลฟ่าไคติน มีคุณลักษณะของเสถียรภาพทางเคมีสูงกว่าบีต้าไคติน ดังนั้นจึงมีโอกาสที่บีต้าไคตินสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปเป็นแอลฟ่าไคตินได้ในสารละลายของกรดเช่น กรดเกลือ เป็นต้น ส่วนแกมม่าไคตินเป็นโครงสร้างผสมระหว่างแอลฟ่ากับบีต้าไคตินนั่นเอง ไคตินเป็นโพลิเมอร์ที่เป็นสายยาวประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่าโมโนเมอร์ (Monomer) (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. องค์ประกอบของหน่วยย่อยเป็นสารอนุพันธ์ของน้ำตาลกลูโคสมีชื่อว่า N-acetyl glucosamine ไคตินเป็นสารละลายยากและไม่ค่อยละลาย ส่วนไคโตซานเป็นโพลิเมอร์ของหน่วยย่อยที่ชื่อว่า glucosamine นั่นเอง มีการนำสารไคติน/ไคโตซานมาประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์และอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น 1.ด้านการเกษตร 2.ด้านอาหาร 3.ด้านการแพทย์และเภสัชกรรม 4.ด้านเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์บำรุงผิว 5.ด้านอุตสาหกรรมสิ่งทอและกระดาษ 6.ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ 7.ด้านการแยกทางชีวภาพ เป็นต้น
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element สารไคติน.
9 (RLIN) 1491
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element สารไคโตซาน.
9 (RLIN) 5158
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element โพลิเมอร์.
9 (RLIN) 1779
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title พลาสติก
Related parts ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2544) หน้า 29
International Standard Serial Number 0125-8591
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.