การชักนำการกลายพันธุ์มังคุด : การตอบสนองของชิ้นส่วนพืชต่อสิ่งก่อกลายพันธุ์ / (Record no. 439)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04568nab a2200253 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000439
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150245.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1999 th qr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-44060
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191120
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042114
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211707
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name สมปอง เตชะโต.
9 (RLIN) 416
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การชักนำการกลายพันธุ์มังคุด : การตอบสนองของชิ้นส่วนพืชต่อสิ่งก่อกลายพันธุ์ /
Statement of responsibility, etc. สมปอง เตชะโต, วิทยา พรหมมี
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. ตัดแยกใบอ่อนสีม่วงแดงของมังคุดที่เลี้ยงในอาหารสองชิ้น และรวบรวมโนดูลาแคลลัสที่ชักนำในอาหารสูตรชักนำแคลลัสมาจุ่มแช่สารเคมีก่อกลายพันธุ์เอทธีลมีเทนซัล โฟเนต และฉายรังสีแกมมาความเข้มต่างๆ นำใบและแคลลัสที่ผ่านการให้สิ่งก่อกลายพันธุ์ทั้งสองชนิดมาตรวจสอบการสร้างแคลลัสจากใบ และการรอดชีวิตของแคลลัสในแต่ละสัปดาห์ เพื่อตรวจสอบรูปแบบความสามารถในการสร้างแคลลัสจากใบ เปรียบเทียบกับรูปแบบการรอดชีวิตของแคลลัสในแต่ละความเข้มของสิ่งก่อกลายพันธุ์ทั้งสองชนิด จากการศึกษาพบว่าการใช้ EMS ความเข้มข้นสูงขึ้นให้อัตราการรอดชีวิตของแคลลัสลดลง ความเข้มข้นที่ยับยั้งการพัฒนาได้อย่างน้อย 50% ของชุดเปรียบเทียบ คือ ความเข้มข้น 0.50% (มีต่อ)
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. สำหรับการสร้างแคลลัส พบว่าเป็นไปทำนองเดียวกัน แต่ความเข้มข้นที่ยับยั้งการสร้างแคลลัสได้ 50% คือ 0.50-0.75% ในกรณีของการฉายรังสีแกมมาความเข้มต่างๆ พบว่ารังสีความเข้ม 20 และ 40 เกรย์ ทำให้การรอดชีวิตของแคลลัส 84.2 และ 80.8% แตกต่างจากชุดเปรียบเทียบ ซึ่งให้การรอดชีวิต 100% อย่างไรก็ตามการรอดชีวิตของแคลลัสหลังจากฉายรังสีไม่มีความรุนแรงในขณะที่การสร้างแคลลัสจากใบมีความรุนแรงมาก โดยเฉพาะรังสีความเข้ม 20 และ 40 เกรย์ ไม่สามารถชักนำแคลลัสจากใบที่ฉายรังสีได้เลย ในขณะที่ใบที่ได้รับรังสี 5 และ 10 เกรย์ สร้างแคลลัสได้ 50% และ 10% ตามลำดับ ความเข้มรังสีที่ยับยั้งการสร้างแคลลัสจากใบได้ 50% คือ 10 เกรย์
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element มังคุด
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 1139
700 0# - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name วิทยา พรหมมี.
9 (RLIN) 420
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title สงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Related parts ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2542) หน้า 25 - 31
International Standard Serial Number 0125-3395
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.