การศึกษาการสกัดไคตินและไคโตแวนและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความจุของการแลกเปลี่ยนไอออนบวกของไคโตแซน / (Record no. 52)

MARC details
000 -LEADER
fixed length control field 04075nab a2200265 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000000052
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field VRT
005 - DATE AND TIME OF LATEST TRANSACTION
control field 20231003150055.0
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 120521 1997 th gr 0 0tha d
012 ## -
-- Journal
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0000-05260
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201312191113
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
Level of effort used to assign subject headings 201207042107
Level of effort used to assign classification VLOAD
-- 201205211704
-- VLOAD
040 ## - CATALOGING SOURCE
Original cataloging agency PBRU
090 ## - LOCALLY ASSIGNED LC-TYPE CALL NUMBER (OCLC); LOCAL CALL NUMBER (RLIN)
Classification number (OCLC) (R) ; Classification number, CALL (RLIN) (NR) INDEX
100 0# - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name ศักดา ไตรศักดิ์.
9 (RLIN) 473
245 10 - TITLE STATEMENT
Title การศึกษาการสกัดไคตินและไคโตแวนและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความจุของการแลกเปลี่ยนไอออนบวกของไคโตแซน /
Statement of responsibility, etc. ศักดา ไตรศักดิ์
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. การศึกษาปริมาณของไคตินและไคโตแซนจากเปลือกกุ้งชนิดต่าง ๆ และศึกษาค่าความจุของการแลกเปลี่ยนไอออนบวกของไคโตแซนทั้งในสภาวะที่ไอออนแต่ละชนิดแยกกันอยู่ และสภาพที่ไอออนหลายชนิดอยู่รวมกันในสารละลาย เพื่อศึกษาถึงความจำเพาะและหาข้อสรุปของปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการจับไอออนบวกของไคโตแซน โดยไอออนบวกที่เลือกศึกษาได้แก่ Fe Cu Zn Cd และ Pb การศึกษาพบว่ากุ้งกุลาดำมีปริมาณไคตินและไคโตแซนมากที่สุด รองลงมาได้แก่กุ้งลายน้ำตาล กุ้งขาว กุ้งก้ามกราม กุ้งโอคัก กุ้งลายหิน และกุ้งแชบ๊วย การหาค่าความจุไอออนบวกของไคโตแซนศึกษาโดยใช้เทคนิค Atomic Absorption spectroscopy จากการวิจัยพบว่าไคโตแซนที่ใช้เวลาสกัดนาน 2 ชั่วโมง มีความสามารถในการจับไอออนบวกได้ดีกว่าไคโตแซนที่ใช้เวลาสกัดเพียง 1 ชั่วโมง และพบว่าลำดับของไอออนบวกที่ถูกจับโดยไคโตแซนมีลำดับเป็น Cu > Zn > Pb ~ Cd > Fe โดยลำดับนี้จะเหมือนกันทั้งใรสารละลายของไอออนแต่ละชนิดและสารละลายที่มีไอออนเหล่านี้อยู่รวมกัน นอกจากนี้ข้อมูลของความจุในการแลกเปลี่ยนไอออนบวกยังบ่งชี้ว่าขนาดและประจุของไอออนโลหะมีอิทธิพลต่อความจุของการแลกเปลี่ยนไอออนบวกของไคโตแซนมากกว่าธรรมชาติของไอออนโลหะ
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ไคโตแซน.
9 (RLIN) 500
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element ไคติน.
9 (RLIN) 501
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element วิทยาศาสตร์
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 502
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element กุ้ง
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 503
650 #4 - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element SCI-TECH.
9 (RLIN) 345
773 0# - HOST ITEM ENTRY
Title วิทยาศาสตร์ลาดกระบัง
Related parts ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (สิงหาคม 2540) หน้า 26 - 35
942 ## - ADDED ENTRY ELEMENTS (KOHA)
Koha item type Serials

No items available.