เทคนิคอาร์เอพีดีกับการจำแนกพันธุ์พริก / ธีระชัย ธนานันต์, นฤมล ธนานันต์

By: ธีระชัย ธนานันต์Contributor(s): นฤมล ธนานันต์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | พริก -- วิจัย In: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 8 ฉบับที่ 1(มกราคม - มิถุนายน 2543) หน้า 6-10Summary: พริกเป็นพืชผักที่มีความสำคัญต่อวิถีชีวิตประจำวันของคนไทยอย่างยิ่ง ผู้วิจัยจึงได้ประยุกต์ใช้เทคนิคอาร์เอพีดี เพื่อตรวจสอบพันธุ์พริกในประเทศไทย โดยเก็บตัวอย่างพริก 14 พันธุ์มาตรวจสอบกับไพรเมอร์ 72 ชนิด พบว่าไพรเมอร์ 70 ชนิด สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ได้หรือคิดเป็น 97 เปอร์เซนต์ (มีต่อ)Summary: จากนั้นจึงได้เลือกไพรเมอร์ 20 ชนิด ที่สามารถเพิ่มปริมาณดีอ็นเอได้อย่างชัดเจน มาตรวจสอบกับดีเอ็นเอของพริกทั้งหมด พบว่าสามารถแยกความแตกต่างระหว่างพันธุ์ได้ โดยไพรเมอร์บางชนิดให้แถบดีเอ็นเอที่จำเพาะกับพันธุ์ใดพันธุ์หนึ่ง ซึ่งสามารถจำแนกพริกทั้งหมด 14 พันธุ์ ด้วยไพรเมอร์เพียงชนิดเดียว (มีต่อ)Summary: อย่างไรก็ตามในการตรวจสอบพันธุ์ที่ถูกต้องนั้น ควรจะใช้ไพรเมอร์หลายชนิด และต้องมีพันธุ์มาตรฐานไว้เปรียบเทียบให้น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น เมื่อเปรียบเทียบรูปแบบของแถบดีเอ็นเอในแต่ละพันธุ์สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนการได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พริกเป็นพืชผักที่มีความสำคัญต่อวิถีชีวิตประจำวันของคนไทยอย่างยิ่ง ผู้วิจัยจึงได้ประยุกต์ใช้เทคนิคอาร์เอพีดี เพื่อตรวจสอบพันธุ์พริกในประเทศไทย โดยเก็บตัวอย่างพริก 14 พันธุ์มาตรวจสอบกับไพรเมอร์ 72 ชนิด พบว่าไพรเมอร์ 70 ชนิด สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ได้หรือคิดเป็น 97 เปอร์เซนต์ (มีต่อ)

จากนั้นจึงได้เลือกไพรเมอร์ 20 ชนิด ที่สามารถเพิ่มปริมาณดีอ็นเอได้อย่างชัดเจน มาตรวจสอบกับดีเอ็นเอของพริกทั้งหมด พบว่าสามารถแยกความแตกต่างระหว่างพันธุ์ได้ โดยไพรเมอร์บางชนิดให้แถบดีเอ็นเอที่จำเพาะกับพันธุ์ใดพันธุ์หนึ่ง ซึ่งสามารถจำแนกพริกทั้งหมด 14 พันธุ์ ด้วยไพรเมอร์เพียงชนิดเดียว (มีต่อ)

อย่างไรก็ตามในการตรวจสอบพันธุ์ที่ถูกต้องนั้น ควรจะใช้ไพรเมอร์หลายชนิด และต้องมีพันธุ์มาตรฐานไว้เปรียบเทียบให้น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น เมื่อเปรียบเทียบรูปแบบของแถบดีเอ็นเอในแต่ละพันธุ์สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนการได้