การแสดงผลการจำลองสภาพการระบายน้ำในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ / ทวนทัน กิจไพศาลสกุล, อิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์, วิภารัตน์ สฤษฎีชัยกุล.

By: ทวนทัน กิจไพศาลสกุลContributor(s): อิทธิ ตริสริสัตยวงศ์ | วิภารัตน์ สฤษฎีชัยกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การระบายน้ำ | ชลศาสตร์ In: วิศวกรรมสาร ปีที่ 53 เล่มที่ 1 (มกราคม 2543) หน้า 76-80Summary: การออกแบบระบบระบายน้ำในพื้นที่เขตเมืองโดยทั่วไปจะทำโดยการจำลองสภาพการระบายน้ำฝนที่ตกในพื้นที่ โดยใช้แบบจำลองชลศาสตรในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก อย่างไรก็ตามแบบจำลองที่มีอยู่ในปัจจุบันจะแสดงผลการคำนวณในรูปของค่าระดับน้ำตามตำแหน่งพิกัดหรือจุรับน้ำต่างๆ ที่กำหนดในพื้นที่ โดยไม่แสดงผลขอบเขตน้ำท่วมบนแผนที่ภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา ซึ่งสามารถเข้าใจได้เฉพาะผู้ใจโปรแกรมเท่านั้น ดังนั้นจึงได้มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะพัฒนาวิธีการแสดงผลการจำลองสภาพน้ำท่วมลงบนแผนที่ภูมิประเทศ (มีต่อ)Summary: โดยเริ่มต้นจากแบบจำลองชลศาสตร์กับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์ขอบเขตพื้นที่น้ำท่วมและความลึกน้ำท่วมในบริเวณต่าง ๆ โดยนำผลไปแสดงซ้อนทับกับแผนที่ภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา การแสดงผลดังกล่าวจะทำให้เข้าใจการจำลองสภาพน้ำท่วมได้ชัดเจน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การออกแบบระบบระบายน้ำในพื้นที่เขตเมืองโดยทั่วไปจะทำโดยการจำลองสภาพการระบายน้ำฝนที่ตกในพื้นที่ โดยใช้แบบจำลองชลศาสตรในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก อย่างไรก็ตามแบบจำลองที่มีอยู่ในปัจจุบันจะแสดงผลการคำนวณในรูปของค่าระดับน้ำตามตำแหน่งพิกัดหรือจุรับน้ำต่างๆ ที่กำหนดในพื้นที่ โดยไม่แสดงผลขอบเขตน้ำท่วมบนแผนที่ภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา ซึ่งสามารถเข้าใจได้เฉพาะผู้ใจโปรแกรมเท่านั้น ดังนั้นจึงได้มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะพัฒนาวิธีการแสดงผลการจำลองสภาพน้ำท่วมลงบนแผนที่ภูมิประเทศ (มีต่อ)

โดยเริ่มต้นจากแบบจำลองชลศาสตร์กับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์ขอบเขตพื้นที่น้ำท่วมและความลึกน้ำท่วมในบริเวณต่าง ๆ โดยนำผลไปแสดงซ้อนทับกับแผนที่ภูมิประเทศของพื้นที่ศึกษา การแสดงผลดังกล่าวจะทำให้เข้าใจการจำลองสภาพน้ำท่วมได้ชัดเจน