สถาบันคีนันเลือกบริษัทผลิตเสื้อผ้าส่งออกร่วมโครงการศูนย์แนะนำธุรกิจ SME / รัชดาภรณ์ อันดี

By: รัชดาภรณ์ อันดีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การจัดการธุรกิจ | การค้า In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2543) หน้า 89-91Summary: นอกจากนี้ยังมีสถาบันคีนันแห่งเอเชีย โดยการสนับสนุนจากสถาบันคีนันแห่งมหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา สถาบันจะให้บริการในลักษณะของการให้คำปรึกษา และทำการวิเคราะห์ปัญหาของแต่ละบริษัทเพื่อแก้ไขปัญหาที่ให้ผลเชิงปฏิบัติ โดยผู้ที่สนใจสามารถติดต่อขอรับบริการครอบคลุมทุกสาขา โดยตอนนี้บริษัทแอพพาเรล แอ๊ฟมีนิว ซึ่งดำเนินธุรกิจผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อการส่งออก นับเป็นบริษัทแรกที่ผ่านการพิจารณาตามเงื่อนไขภายใต้โครงการที่ 1 (มีต่อ)Summary: สำหรับความช่วยเหลือในโครงการคือ การสนับสนุนด้านผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ในรูปของการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อการส่งออก ช่วยให้ระบบการผลิตของบริษัทมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามแนวทางการผลิตSummary: ในช่วงที่ผ่านมาความพยายามของรัฐบาลที่จะผลิตพลิกฟื้นเศรษฐกิจให้มั่นคง รัฐบาลได้หันมาสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม SME ซึ่งเป็นเสาหลักของภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ให้เข้มแข็ง หน่วยงานที่ให้คำปรึกษามีไม่เพียงพอโดยมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำกับผู้ประกอบการ เพื่อให้เข้าถึงวิธีการจัดการใหม่ๆ ให้มีความโปร่งใสในเรื่องของระบบบัญชี แต่ปัจจุบันผู้ประกอบการ SME ก็ยังไม่เข้าใจในการจัดการธุรกิจของตนเอง แม้กระทั่งการติดต่อสถาบันการเงินเพื่อให้ผ่านการพิจารณาจากสถาบันการเงิน (มีต่อ)
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

นอกจากนี้ยังมีสถาบันคีนันแห่งเอเชีย โดยการสนับสนุนจากสถาบันคีนันแห่งมหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนา สถาบันจะให้บริการในลักษณะของการให้คำปรึกษา และทำการวิเคราะห์ปัญหาของแต่ละบริษัทเพื่อแก้ไขปัญหาที่ให้ผลเชิงปฏิบัติ โดยผู้ที่สนใจสามารถติดต่อขอรับบริการครอบคลุมทุกสาขา โดยตอนนี้บริษัทแอพพาเรล แอ๊ฟมีนิว ซึ่งดำเนินธุรกิจผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อการส่งออก นับเป็นบริษัทแรกที่ผ่านการพิจารณาตามเงื่อนไขภายใต้โครงการที่ 1 (มีต่อ)

สำหรับความช่วยเหลือในโครงการคือ การสนับสนุนด้านผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ในรูปของการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อการส่งออก ช่วยให้ระบบการผลิตของบริษัทมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามแนวทางการผลิต

ในช่วงที่ผ่านมาความพยายามของรัฐบาลที่จะผลิตพลิกฟื้นเศรษฐกิจให้มั่นคง รัฐบาลได้หันมาสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม SME ซึ่งเป็นเสาหลักของภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ให้เข้มแข็ง หน่วยงานที่ให้คำปรึกษามีไม่เพียงพอโดยมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้คำแนะนำกับผู้ประกอบการ เพื่อให้เข้าถึงวิธีการจัดการใหม่ๆ ให้มีความโปร่งใสในเรื่องของระบบบัญชี แต่ปัจจุบันผู้ประกอบการ SME ก็ยังไม่เข้าใจในการจัดการธุรกิจของตนเอง แม้กระทั่งการติดต่อสถาบันการเงินเพื่อให้ผ่านการพิจารณาจากสถาบันการเงิน (มีต่อ)