EMC กับรถไฟ(ลอย)ฟ้า / วีระเชษฐ์ ขันเงิน

By: วีระเชษฐ์ ขันเงินCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า | รถไฟฟ้า In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2543) หน้า 50-56Summary: ความสำคัญของความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Compatibility : EMC) ซึ่งมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอยู่รอบตัวเรา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้เกิดจากธรรมชาติและจากที่มนุษย์สร้างขึ้นว่าจะมีผลกระทบต่อบุคคล อุปกรณ์ เครื่องมือ และรวมถึงระบบต่าง ๆ อย่างไรความเข้าใจเกี่ยวกับหลักของ EMC และ EMC คืออะไร จะได้นำมากล่าวในที่นี้ โดยจะมุ่งเน้นถึงผลกระทบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อันจะเกิดจากรถไฟฟ้า และได้เสนอแนวทางเพื่อลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นตามหลักเกณฑ์ทางวิชาการและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง (มีต่อ)Summary: การศึกษาผลกระทบของรถไฟฟ้าในด้าน EMC ในเบื้องต้นเห็นได้ว่ามีความเป็นไปได้ ระบบของรถไฟฟ้าส่งสัญญาณรบกวนออกมาได้ แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ถึงระดับสัญญาณรบกวนว่ามีผลกระทบหรือไม่ แต่เส้นทางรถไฟฟ้าที่ผ่านมีความยาวไม่น้อยกว่า 23 กิโลเมตร มีการวิ่งผ่านโรงพยาบาล ธนาคาร หรือหน่วยงานที่มีเครื่องมือประเภทความไวสูงไม่น้อย หากระดับสัญญาณรบกวนมีขนาดสูงพอ อาจจะทำให้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้รับผลกระทบได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการบรรทุกเต็มพิกัด (มีต่อ)Summary: ผลของสัญญาณรบกวนอาจจะเห็นได้เด่นชัดยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาผลกระทบของรถไฟฟ้าด้าน EMC อย่างจริงจังต่อไปทั้งในขณะทดลองวิ่งและเมื่อใช้งานเต็ม และตามวงรอบเวลาด้วย สุดท้ายได้นำเสนอแนวทางการลดและแก้ปัญหาด้าน EMC เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติและศึกษาต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ความสำคัญของความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Compatibility : EMC) ซึ่งมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอยู่รอบตัวเรา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านี้เกิดจากธรรมชาติและจากที่มนุษย์สร้างขึ้นว่าจะมีผลกระทบต่อบุคคล อุปกรณ์ เครื่องมือ และรวมถึงระบบต่าง ๆ อย่างไรความเข้าใจเกี่ยวกับหลักของ EMC และ EMC คืออะไร จะได้นำมากล่าวในที่นี้ โดยจะมุ่งเน้นถึงผลกระทบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อันจะเกิดจากรถไฟฟ้า และได้เสนอแนวทางเพื่อลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นตามหลักเกณฑ์ทางวิชาการและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง (มีต่อ)

การศึกษาผลกระทบของรถไฟฟ้าในด้าน EMC ในเบื้องต้นเห็นได้ว่ามีความเป็นไปได้ ระบบของรถไฟฟ้าส่งสัญญาณรบกวนออกมาได้ แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ถึงระดับสัญญาณรบกวนว่ามีผลกระทบหรือไม่ แต่เส้นทางรถไฟฟ้าที่ผ่านมีความยาวไม่น้อยกว่า 23 กิโลเมตร มีการวิ่งผ่านโรงพยาบาล ธนาคาร หรือหน่วยงานที่มีเครื่องมือประเภทความไวสูงไม่น้อย หากระดับสัญญาณรบกวนมีขนาดสูงพอ อาจจะทำให้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้รับผลกระทบได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการบรรทุกเต็มพิกัด (มีต่อ)

ผลของสัญญาณรบกวนอาจจะเห็นได้เด่นชัดยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาผลกระทบของรถไฟฟ้าด้าน EMC อย่างจริงจังต่อไปทั้งในขณะทดลองวิ่งและเมื่อใช้งานเต็ม และตามวงรอบเวลาด้วย สุดท้ายได้นำเสนอแนวทางการลดและแก้ปัญหาด้าน EMC เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติและศึกษาต่อไป