"ซึมเศร้า" โรคขี้เหงาของคนเมือง / ธัญยธรณ์ นาราเต็มทรัพย์

By: ธัญยธรณ์ นาราเต็มทรัพย์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): โรคซึมเศร้า In: Health & Cuisine ปีที่ 6 ฉบับที่ 68 (กันยายน 2549) หน้า 56-59Summary: ภาวะซึมเศร้า เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้กับทุกคนเป็นครั้งคราว เป็นปฏิกิริยาทางจิตใจต่อความกดดันหรือความสูญเสีย ทั้งการเสียชีวิตของคู่แต่งงานและคนในครอบครัว การย้ายที่อยู่ ที่ทำงาน จากสภาพอากาศ เช่น ฝนตก หนาว หดหู่ แต่ถ้าเป็นโรคซึมเศร้ามักจะมีปัจจัยอื่นร่วมอยู่ด้วย เช่น เกิดจากกรรมพันธุ์ ความบกพร่องของสารสื่อประกอบ หรือ สารซีโรโตนิน และสุดท้ายคือเพศ ซึ่งส่วนใหญ่จะพบกับเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เพราะมาจากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในช่วงต่างๆ เช่น การตั้งครรภ์ การมีประจำเดือน วัยทอง เป็นต้น สำหรับวิธีป้องกันอาการซึมเศร้าควรปฏิบัติดังนี้ 1.ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความกระปรี้กระเปร่าให้ร่างกาย 2.หัวเราะเพื่อทดแทนความเศร้า 3.ระบายอารมณ์ อาจจะโดยวิธีการกรี๊ด หรือร้องไห้ 4.พูดระบายความในใจ 5.คิดแต่ในแง่ที่ดีๆ และ 6.การนั่งสมาธิ เพื่อทำจิตใจให้สงบ เพราะสมาธินั้นสามารถช่วยปัญหาต่างๆ ได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ภาวะซึมเศร้า เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้กับทุกคนเป็นครั้งคราว เป็นปฏิกิริยาทางจิตใจต่อความกดดันหรือความสูญเสีย ทั้งการเสียชีวิตของคู่แต่งงานและคนในครอบครัว การย้ายที่อยู่ ที่ทำงาน จากสภาพอากาศ เช่น ฝนตก หนาว หดหู่ แต่ถ้าเป็นโรคซึมเศร้ามักจะมีปัจจัยอื่นร่วมอยู่ด้วย เช่น เกิดจากกรรมพันธุ์ ความบกพร่องของสารสื่อประกอบ หรือ สารซีโรโตนิน และสุดท้ายคือเพศ ซึ่งส่วนใหญ่จะพบกับเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เพราะมาจากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในช่วงต่างๆ เช่น การตั้งครรภ์ การมีประจำเดือน วัยทอง เป็นต้น สำหรับวิธีป้องกันอาการซึมเศร้าควรปฏิบัติดังนี้ 1.ออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความกระปรี้กระเปร่าให้ร่างกาย 2.หัวเราะเพื่อทดแทนความเศร้า 3.ระบายอารมณ์ อาจจะโดยวิธีการกรี๊ด หรือร้องไห้ 4.พูดระบายความในใจ 5.คิดแต่ในแง่ที่ดีๆ และ 6.การนั่งสมาธิ เพื่อทำจิตใจให้สงบ เพราะสมาธินั้นสามารถช่วยปัญหาต่างๆ ได้