วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับสังคมไทยในสหัสวรรษหน้า / อานันท์ ปันยารชุน

By: อานันท์ ปันยารชุนCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การพัฒนาประเทศ | วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี | SCI-TECH In: วิศวกรรมสาร ปีที่ 52 เล่มที่ 12 (ธันวาคม 2542) หน้า 99-102Summary: คนทั่วไปมักมองว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นสิ่งที่ซับซ้อนเข้าใจยากและยังมองอีกว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ต่างชาติรู้ดีกว่า และทำได้เก่งกว่าไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ หรือการผลิตสินค้าและบริการ ที่ใช้กระบวนการผลิตที่ทันสมัย คนส่วนใหญ่มักมองว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่ไกลตัวไม่ใช่เรื่องของชาวบ้าน เป็นเรื่องของนักวิชาการ (มีต่อ)Summary: ความเชื่อเหล่านี้ทำให้คนไทยจำนวนมากรู้สึกว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของคนเก่ง ไม่เพียงแต่ทัศนคติของคนทั่วไปเท่านั้นที่มองว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ไกลตัว แม้แต่ผู้กำหนดนโยบายและผู้นำประเทศเองก็มีทัศนคติว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเพียงวิชาการแขนงหนึ่ง ท่านเหล่านี้ยังไม่เข้าใจว่าและตระหนักว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นรากฐานของการพัฒนาในทุกด้าน (มีต่อ)Summary: ยิ่งไปกว่านั้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังคงถูกมองว่าเป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ ในกระทรวงวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในทุกสาขาการพัฒนาไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา การแพทย์ สาธารณสุข (มีต่อ)Summary: ดังนั้นปัญหาสำคัญที่เกี่ยวกับความเชื่อมโยงที่สังคมมีต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่ว่าจะมาจากมุมมองของประชาชนทั่วไป ผู้บริหารหรือนักวิชาการ คิดกันต่อไปว่าทำอย่างไรจึงจะเชื่อมโยงประชาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจและสังคมไทยให้ได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

คนทั่วไปมักมองว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นสิ่งที่ซับซ้อนเข้าใจยากและยังมองอีกว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ต่างชาติรู้ดีกว่า และทำได้เก่งกว่าไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ หรือการผลิตสินค้าและบริการ ที่ใช้กระบวนการผลิตที่ทันสมัย คนส่วนใหญ่มักมองว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่ไกลตัวไม่ใช่เรื่องของชาวบ้าน เป็นเรื่องของนักวิชาการ (มีต่อ)

ความเชื่อเหล่านี้ทำให้คนไทยจำนวนมากรู้สึกว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของคนเก่ง ไม่เพียงแต่ทัศนคติของคนทั่วไปเท่านั้นที่มองว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ไกลตัว แม้แต่ผู้กำหนดนโยบายและผู้นำประเทศเองก็มีทัศนคติว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเพียงวิชาการแขนงหนึ่ง ท่านเหล่านี้ยังไม่เข้าใจว่าและตระหนักว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นรากฐานของการพัฒนาในทุกด้าน (มีต่อ)

ยิ่งไปกว่านั้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังคงถูกมองว่าเป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ ในกระทรวงวิทยาศาสตร์เท่านั้น ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในทุกสาขาการพัฒนาไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา การแพทย์ สาธารณสุข (มีต่อ)

ดังนั้นปัญหาสำคัญที่เกี่ยวกับความเชื่อมโยงที่สังคมมีต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่ว่าจะมาจากมุมมองของประชาชนทั่วไป ผู้บริหารหรือนักวิชาการ คิดกันต่อไปว่าทำอย่างไรจึงจะเชื่อมโยงประชาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจและสังคมไทยให้ได้