การศึกษาการจัดการน้ำระดับไร่นา ในพืชไร่เศรษฐกิจ : กรณีศึกษาการใช้น้ำอย่างเหมาะสมในการผลิตข้าวโพดหวานในกลุ่มดินเหนียวสีแดง กฤติโสภณ ดวงกมล และคนอื่น ๆ

Contributor(s): กฤติโสภณ ดวงกมลCall Number: Index Material type: ArticleArticleISSN: 0125-667Subject(s): ผลผลิตทางการเกษตร | ข้าวโพดหวานอนุรักษ์ดินและน้ำ ปีที่ 32 ฉบับที่ 3 (สิงหาคม 2560) หน้า 43 - 52Subject: การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยส่วนใหญ่ทำการใส่ปุ๋ยควบคู่กับการให้น้ำของชลประทานซึ่งมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นประกอบกับการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างต่อเนื่องทำให้การใช้น้ำเพื่อการเกษตรตลอดจนการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น แต่ถ้าการใช้น้ำเป็นการใช้อย่างประหยัดและมีการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเป็นการยืดอายุหรือยืดเวลาที่ไม่ต้องเผชิญกับสภาวะการขาดน้ำได้ การใช้น้ำที่มีประสิทธิภาพต่อการปลูกพืชต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ และพืชอย่างต่อเนื่อง เมื่อปัจจัยด้านโรค แมลงและความอุดมสมบูรณ์ของดินไม่เป็นตัวจำกัด น้ำเป็นปัจจัยหลักในการเจริญเติบโตของพืช สำหรับข้าวโพดนั้น ความต้องการน้ำในช่วงแรกของการเจริญเติบโตมีค่าน้อยและเพิ่มขึ้นตามอายุ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยส่วนใหญ่ทำการใส่ปุ๋ยควบคู่กับการให้น้ำของชลประทานซึ่งมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นประกอบกับการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างต่อเนื่องทำให้การใช้น้ำเพื่อการเกษตรตลอดจนการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น แต่ถ้าการใช้น้ำเป็นการใช้อย่างประหยัดและมีการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเป็นการยืดอายุหรือยืดเวลาที่ไม่ต้องเผชิญกับสภาวะการขาดน้ำได้ การใช้น้ำที่มีประสิทธิภาพต่อการปลูกพืชต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ และพืชอย่างต่อเนื่อง เมื่อปัจจัยด้านโรค แมลงและความอุดมสมบูรณ์ของดินไม่เป็นตัวจำกัด น้ำเป็นปัจจัยหลักในการเจริญเติบโตของพืช สำหรับข้าวโพดนั้น ความต้องการน้ำในช่วงแรกของการเจริญเติบโตมีค่าน้อยและเพิ่มขึ้นตามอายุ