การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพพอเพียงร่วมกับวิถีมุสลิมสำหรับผู้ป่วยเบาหวานมุสลิมที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ นฤมล สุขประเสริฐ, กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์ และ อุษณีย์ เพชรรัชตะชาติ

By: นฤมล สุขประเสริฐContributor(s): กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์ | อุษณีย์ เพชรรัชตะชาติCall Number: Index Material type: ArticleArticleISSN: 0125-0744Subject(s): โรคเบาหวาน | ผู้ป่วยเบาหวานสุขศึกษา ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2560) หน้า 107 - 117Subject: โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว เพราะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องดูแลรักษาตลอดชีวิตส่งผลให้ผู้ป่วยต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต เช่น การรับประทานยาตามเวลา ไปพบแพทย์ตามนัด และเจาะเลือดอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ จึงนำมาซึ่งผลกระทบแบบองค์รวมทั้งต่อผู้ป่วยและครอบครัว ปัญหาสำคัญของผู้ป่วยเบาหวานคือการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การรับประทานยาหรือการฉีดยาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่สม่ำเสมอ ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยมุสลิมไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้มี 2 ประการ คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของชาวมุสลิมและพฤติกรรมการออกกำลงกายโดยอาหารมื้อชาวของชาวมุสลิมนิยมบริโภคอาหารประเภทแป้งและน้ำตาล เช่น โรตี น้ำชา กาแฟ ปาท่องโก๋ และในเทศกาลต่างๆก็มักจะมีอาหารที่มีส่วนผสมของกะทิและมีไขมันสูง เช่น แกงแพะ แกงเนื้อ ซุปหางวัว ซึ่งพลังงานที่ได้รับนั้นเกินความพอดี โดยเฉพาะในช่วงถือศีลอด ประกอบกับผู้ป่วยบางรายไม่ได้ให้ความสำคัญของการออกกำลังกายอย่างเพียงพอ เพื่อปรับสมดุลของพลังงานที่ได้รับและการเผาผลาญที่เหมาะสมทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดสูง มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น และไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว เพราะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ต้องดูแลรักษาตลอดชีวิตส่งผลให้ผู้ป่วยต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต เช่น การรับประทานยาตามเวลา ไปพบแพทย์ตามนัด และเจาะเลือดอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ จึงนำมาซึ่งผลกระทบแบบองค์รวมทั้งต่อผู้ป่วยและครอบครัว ปัญหาสำคัญของผู้ป่วยเบาหวานคือการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การรับประทานยาหรือการฉีดยาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่สม่ำเสมอ ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยมุสลิมไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้มี 2 ประการ คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของชาวมุสลิมและพฤติกรรมการออกกำลงกายโดยอาหารมื้อชาวของชาวมุสลิมนิยมบริโภคอาหารประเภทแป้งและน้ำตาล เช่น โรตี น้ำชา กาแฟ ปาท่องโก๋ และในเทศกาลต่างๆก็มักจะมีอาหารที่มีส่วนผสมของกะทิและมีไขมันสูง เช่น แกงแพะ แกงเนื้อ ซุปหางวัว ซึ่งพลังงานที่ได้รับนั้นเกินความพอดี โดยเฉพาะในช่วงถือศีลอด ประกอบกับผู้ป่วยบางรายไม่ได้ให้ความสำคัญของการออกกำลังกายอย่างเพียงพอ เพื่อปรับสมดุลของพลังงานที่ได้รับและการเผาผลาญที่เหมาะสมทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดสูง มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น และไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้