สถานการณ์และการจัดการด้านความปลอดภัยของเครื่องสำอางในจังหวัดสุโขทัย สมจิตร ทองสุขดี, ณัฐสิริ หนูดา และ ธีรยา วรปาณิ

By: สมจิตร ทองสุขดีContributor(s): ณัฐสิริ หนูดา | ธีรยา วรปาณิCall Number: Index Material type: ArticleArticleISSN: 0859-1180Subject(s): เครื่องสำอาง | ผลิตภัณฑ์เสริมความงามอาหารและยา ปีที่ 25 ฉบับที่ 1/2561 (มกราคม - เมษายน 2561) หน้า 61 - 71Subject: เครื่องสำอางเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเด็ก ผู้ใหญ่ทั้งเพศชาย เพศหญิง และเพศที่สาม ในปัจจุบันช่องทางการจำหน่ายเครื่องสำอางหลากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นร้านเสริมสวย ร้านค้าทั่วไป ห้างสรรพสินค้า อินเทอร์เน็ต ทำให้เครื่องสำอางเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่ายขึ้น ซึ่งอันตรายจาการใช้เครื่องสำอางจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน เนื่องจากมีการพบว่า มีผู้ประกอบการบางรายมีการใส่สารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง โดยสารห้ามใช้ที่พบบ่อยได้แก่ สารปรอท ไฮโดรควิโนน และกรดวิตามินเอ ดังนั้นสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงร่วมมือกับกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารรสุขจังหวัดในการกำกับเครื่องสำอางก่อนออกสู่ตลาดและหลังออกสู่ตลาด ด้วยการตรวสถานที่จำหน่ายเครื่องสำอางและร้านเสริมสวย การสุ่มตรวจเครื่องสำอางตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง เพื่อความปลอดภัยในการใช้เครื่องสำอางของผู้บริโภค
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เครื่องสำอางเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเด็ก ผู้ใหญ่ทั้งเพศชาย เพศหญิง และเพศที่สาม ในปัจจุบันช่องทางการจำหน่ายเครื่องสำอางหลากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นร้านเสริมสวย ร้านค้าทั่วไป ห้างสรรพสินค้า อินเทอร์เน็ต ทำให้เครื่องสำอางเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่ายขึ้น ซึ่งอันตรายจาการใช้เครื่องสำอางจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน เนื่องจากมีการพบว่า มีผู้ประกอบการบางรายมีการใส่สารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง โดยสารห้ามใช้ที่พบบ่อยได้แก่ สารปรอท ไฮโดรควิโนน และกรดวิตามินเอ ดังนั้นสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงร่วมมือกับกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารรสุขจังหวัดในการกำกับเครื่องสำอางก่อนออกสู่ตลาดและหลังออกสู่ตลาด ด้วยการตรวสถานที่จำหน่ายเครื่องสำอางและร้านเสริมสวย การสุ่มตรวจเครื่องสำอางตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง เพื่อความปลอดภัยในการใช้เครื่องสำอางของผู้บริโภค