เผยเส้นทางใหม่4พันกิโลเมตร เชิญชวน เอกชน ลงทุน 4 แสนล้าน

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ทางหลวง | คมนาคม | SCI-TECH In: ข่าวช่าง ปีที่ 27 ฉบับที่ 321 (กุมภาพันธ์ 2542) หน้า 36 - 39Summary: เปิดเส้นทางสัมปทาน ของ กรมทางหลวง ที่ จะให้ เอกชน ลงทุนทั่วประเทศ 4,150 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 472,360 ล้านบาท ประเดิม สายแรก ในปี 2542 บางใหญ่-บ้านโป่ง ตาม ด้วยวงแหวนด้านใต้ หาก บริษัทใด? ให้ ผลตอบแทนสูงสุด จะ ได้รับ สัมปทาน ให้ ดำเนินงาน ในรูป การ ลงทุน แบบ BOT (BUILD-OPERATE-TRANSFER) จะ ต้องเสนอ ผลประโยชน์ ตอบแทนให้ กับ รัฐสูงสุด ก็ สามารถ เข้าดำเนินการ ได้ (มีต่อ)Summary: ซึ่งประกอบด้วย การก่อสร้าง ที่เป็นส่วน ต่อเนื่องทั้งสิ้น สายทางที่ 1 เป็นการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมือง หมายเลข 5 จุด เริ่มต้นจากบางปะอิน ถึงเชียงราย รวมระยะทาง ก่อสร้างยาว 749 กิโลเมตร ใช้งบก่อสร้าง 83,210 ล้านบาท สายทางที่ 2 เป็นการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 6 ที่แยกไปทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จุดเริ่มต้น บางปะอิน-นครราชสีมา ระยะทางยาวทั้งหมด 535 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 47,150 ล้านบาท (มีต่อ)Summary: สายทางที่ 3 เป็น การก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 7 เป็น การพัฒนา ไปทางด้านตะวันออก มีจุดเริ่มต้น กรุงเทพฯ-จันทบุรี ระยะทาง 290 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 30,140 ล้านบาท สายทางที่ 4 เป็น การก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 8 เพื่อ การพัฒนาพื้น ที่ จังหวัดภาคใต้ เริ่มต้น จากกรุงเทพฯ สงขลา ระยะทาง 935 กิโลเมตรSummary: สายทางที่ 5 เพื่อการก่อสร้าง ทางหลวงหมายเลข 9 เป็นโครงการก่อสร้าง ถนนวงแหวนรอบนอก เป็นรอยต่อ ระหว่าง กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่สามารถ เชื่อมต่อไปยังภาคต่างๆ จนก่อให้เกิด ปัญหาจราจรติดขัด แบ่งพื้นที่ ก่อสร้าง 3 ตอน ระยะทางยาวรวม 168 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้างประมาร 56,440 ล้านบาท สายทางที่ 6 เป็นการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 51 เริ่มต้นจาก กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี ระยะทางยาว 62 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 5,590 ล้านบาท (มีต่อ)Summary: มูลค่า ก่อสร้างประมาณ 93,780 ล้านบาท สายทางที่ 7 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 61 เริ่มต้นจากชลบุรี- นครราชสีมา ระยะทาง 239 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 25,500 ล้านบาท สายทางที่ 8 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข62 เริ่มต้นจาก นครราชสีมา-อุบลราชธานี ระยะทาง 301 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 24,850 ล้านบาท สายทางที่ 9 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวง พิเศษหมายเลข 71 จุดเริ่มต้น จากกรุงเทพฯ-อรัญประเทศ ระยะทาง 212 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 21,960 ล้านบาท (มีต่อ)Summary: สายทางที่ 10 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวง พิเศษ หมายเลข 81 แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนบางใหญ่-บ้านโป่ง และ ตอนบ้านโป่ง-กาญจนบุรี รวมระยะทางยาว 100 กิโลเมตร คิดเป็นมูลค่า ก่อสร้างประมาณ 13,150 ล้านบาท สายทางที่ 11 ก่อสร้างทางหลวงพิเศษ หมายเลข 83 เริ่มจากพระแสง-ภูเก็ต ระยะทาง 136 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 11,080 ล้านบาทสายทางที่12ก่อสร้างทางหลวงพิเศษ หมายเลข 84 เริ่มต้นที่ทุ่งสง-นครศรีธรรมราชSummary: ระยะทาง 37 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 3,250 ล้านบาท สายทางที่ 13 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 91 แบ่งการก่อสร้างเป็น 4 ตอน รวมระยะทางยาว 386 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง ประมาณ 40,320 ล้านบาท ตามแผนการ ของกรมทางหลวง คาดว่าจะใช้ ระยะเวลา เพื่อการศึกษา ความเหมาะสม การสำรวจ และ การออกแบบรายละเอียด และการจัด กรรมสิทธิ์ที่ดิน ของโครงการ บางปะอิน-นครราชสีมา (มีต่อ)Summary: เริ่มตั้งแต่ปี 2541-2544 ส่วนโครงการ เชียงใหม่-เชียงราย ได้ทำการศึกษา ตั้งแต่ปี 2541 ถึงปี 2545 นอกจากนั้น ยังมีโครงการสระบุรี-บางปะกง ระยะทาง 120 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 19,200 ล้านบาท ซึ่งอยู่ระหว่าง กรมทางหลวง ขอตั้งงบประมาณปี 2543 เพื่อทำการศึกษา ความเหมาะสม ทางด้านเศรษฐกิจ การเงิน และสิ่งแวดล้อม และโครงการ ชลบุรี-พัทยา ระยะทาง ก่อสร้าง 31 กิโลเมตร (มีต่อ)Summary: มีมูลค่า ก่อสร้าง 2,900 ล้านบาท และ โครงการ พัทยา-มาบตาพุด ซึ่งเป็น ส่วนต่อเนื่อง ชลบุรี-พัทยา ก่อสร้าง ระยะทางยาว 38 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 4,100 ล้านบาท ซึ่งทั้ง 2 สาย ยังอยู่ ระหว่าง เสนอขออนุมัติ ใช้ เงินกู้จาก ธนาคารโลก เพื่อทำ การศึกษา ความเหมาะสม ทางด้านเศรษฐกิจ การเงิน และ สิ่งแวด ล้อม
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เปิดเส้นทางสัมปทาน ของ กรมทางหลวง ที่ จะให้ เอกชน ลงทุนทั่วประเทศ 4,150 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 472,360 ล้านบาท ประเดิม สายแรก ในปี 2542 บางใหญ่-บ้านโป่ง ตาม ด้วยวงแหวนด้านใต้ หาก บริษัทใด? ให้ ผลตอบแทนสูงสุด จะ ได้รับ สัมปทาน ให้ ดำเนินงาน ในรูป การ ลงทุน แบบ BOT (BUILD-OPERATE-TRANSFER) จะ ต้องเสนอ ผลประโยชน์ ตอบแทนให้ กับ รัฐสูงสุด ก็ สามารถ เข้าดำเนินการ ได้ (มีต่อ)

ซึ่งประกอบด้วย การก่อสร้าง ที่เป็นส่วน ต่อเนื่องทั้งสิ้น สายทางที่ 1 เป็นการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมือง หมายเลข 5 จุด เริ่มต้นจากบางปะอิน ถึงเชียงราย รวมระยะทาง ก่อสร้างยาว 749 กิโลเมตร ใช้งบก่อสร้าง 83,210 ล้านบาท สายทางที่ 2 เป็นการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 6 ที่แยกไปทาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จุดเริ่มต้น บางปะอิน-นครราชสีมา ระยะทางยาวทั้งหมด 535 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 47,150 ล้านบาท (มีต่อ)

สายทางที่ 3 เป็น การก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 7 เป็น การพัฒนา ไปทางด้านตะวันออก มีจุดเริ่มต้น กรุงเทพฯ-จันทบุรี ระยะทาง 290 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 30,140 ล้านบาท สายทางที่ 4 เป็น การก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 8 เพื่อ การพัฒนาพื้น ที่ จังหวัดภาคใต้ เริ่มต้น จากกรุงเทพฯ สงขลา ระยะทาง 935 กิโลเมตร

สายทางที่ 5 เพื่อการก่อสร้าง ทางหลวงหมายเลข 9 เป็นโครงการก่อสร้าง ถนนวงแหวนรอบนอก เป็นรอยต่อ ระหว่าง กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่สามารถ เชื่อมต่อไปยังภาคต่างๆ จนก่อให้เกิด ปัญหาจราจรติดขัด แบ่งพื้นที่ ก่อสร้าง 3 ตอน ระยะทางยาวรวม 168 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้างประมาร 56,440 ล้านบาท สายทางที่ 6 เป็นการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 51 เริ่มต้นจาก กรุงเทพฯ-สุพรรณบุรี ระยะทางยาว 62 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 5,590 ล้านบาท (มีต่อ)

มูลค่า ก่อสร้างประมาณ 93,780 ล้านบาท สายทางที่ 7 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 61 เริ่มต้นจากชลบุรี- นครราชสีมา ระยะทาง 239 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 25,500 ล้านบาท สายทางที่ 8 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข62 เริ่มต้นจาก นครราชสีมา-อุบลราชธานี ระยะทาง 301 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 24,850 ล้านบาท สายทางที่ 9 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวง พิเศษหมายเลข 71 จุดเริ่มต้น จากกรุงเทพฯ-อรัญประเทศ ระยะทาง 212 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 21,960 ล้านบาท (มีต่อ)

สายทางที่ 10 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวง พิเศษ หมายเลข 81 แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนบางใหญ่-บ้านโป่ง และ ตอนบ้านโป่ง-กาญจนบุรี รวมระยะทางยาว 100 กิโลเมตร คิดเป็นมูลค่า ก่อสร้างประมาณ 13,150 ล้านบาท สายทางที่ 11 ก่อสร้างทางหลวงพิเศษ หมายเลข 83 เริ่มจากพระแสง-ภูเก็ต ระยะทาง 136 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง 11,080 ล้านบาทสายทางที่12ก่อสร้างทางหลวงพิเศษ หมายเลข 84 เริ่มต้นที่ทุ่งสง-นครศรีธรรมราช

ระยะทาง 37 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 3,250 ล้านบาท สายทางที่ 13 เพื่อก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษ หมายเลข 91 แบ่งการก่อสร้างเป็น 4 ตอน รวมระยะทางยาว 386 กิโลเมตร มูลค่าก่อสร้าง ประมาณ 40,320 ล้านบาท ตามแผนการ ของกรมทางหลวง คาดว่าจะใช้ ระยะเวลา เพื่อการศึกษา ความเหมาะสม การสำรวจ และ การออกแบบรายละเอียด และการจัด กรรมสิทธิ์ที่ดิน ของโครงการ บางปะอิน-นครราชสีมา (มีต่อ)

เริ่มตั้งแต่ปี 2541-2544 ส่วนโครงการ เชียงใหม่-เชียงราย ได้ทำการศึกษา ตั้งแต่ปี 2541 ถึงปี 2545 นอกจากนั้น ยังมีโครงการสระบุรี-บางปะกง ระยะทาง 120 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 19,200 ล้านบาท ซึ่งอยู่ระหว่าง กรมทางหลวง ขอตั้งงบประมาณปี 2543 เพื่อทำการศึกษา ความเหมาะสม ทางด้านเศรษฐกิจ การเงิน และสิ่งแวดล้อม และโครงการ ชลบุรี-พัทยา ระยะทาง ก่อสร้าง 31 กิโลเมตร (มีต่อ)

มีมูลค่า ก่อสร้าง 2,900 ล้านบาท และ โครงการ พัทยา-มาบตาพุด ซึ่งเป็น ส่วนต่อเนื่อง ชลบุรี-พัทยา ก่อสร้าง ระยะทางยาว 38 กิโลเมตร มูลค่า ก่อสร้าง 4,100 ล้านบาท ซึ่งทั้ง 2 สาย ยังอยู่ ระหว่าง เสนอขออนุมัติ ใช้ เงินกู้จาก ธนาคารโลก เพื่อทำ การศึกษา ความเหมาะสม ทางด้านเศรษฐกิจ การเงิน และ สิ่งแวด ล้อม