ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตนของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม พัชรรินทร์ เนียมเกิด, นารีรัตน์ จิตรมนตรี และ สุพร ดนัยดุษฎีกุล

By: พัชรรินทร์ เนียมเกิดContributor(s): นารีรัตน์ จิตรมนตรี | สุพร ดนัยดุษฎีกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ตะโพกGenre/Form: ข้อสะโพกเทียม In: สภาการพยาบาล ปีที่ 35 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2563) หน้า 99-111Summary: การผ่าตัดข้อสะโพกเทียมเป็นการผ่าตัดข้อสะโพกเดิมที่มีปัญหาออกไปแล้วทดแทนด้วยข้อสะโพกเทียม โดยมักพบในผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อสะโพกเสื่อมอย่างรุนแรง หรือในผู้สูงอายุที่มีภาวะกระดูกพรุน หกล้ม ข้อสะโพกหัก แต่อาจพบในผู้ที่มีอายุน้อยได้ เช่น ภาวะข้อสะโพกขาดเลือด ทำให้หัวข้อสะโพกถูกทำลาย โดยสามารถผ่าตัดเปลี่ยนหัวข้อสะโพกเทียมอย่างเดียว หรือผ่าตัดเปลี่ยนทั้งส่วนหัวและเบ้าข้อสะโพก ข้อสะโพกเทียมประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ทดแทนเบ้าข้อสะโพก ส่วนของหัวข้อ สะโพก และส่วนที่ทำหน้าที่ทดแทนกระดูกอ่อน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การผ่าตัดข้อสะโพกเทียมเป็นการผ่าตัดข้อสะโพกเดิมที่มีปัญหาออกไปแล้วทดแทนด้วยข้อสะโพกเทียม โดยมักพบในผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อสะโพกเสื่อมอย่างรุนแรง หรือในผู้สูงอายุที่มีภาวะกระดูกพรุน หกล้ม ข้อสะโพกหัก แต่อาจพบในผู้ที่มีอายุน้อยได้ เช่น ภาวะข้อสะโพกขาดเลือด ทำให้หัวข้อสะโพกถูกทำลาย โดยสามารถผ่าตัดเปลี่ยนหัวข้อสะโพกเทียมอย่างเดียว หรือผ่าตัดเปลี่ยนทั้งส่วนหัวและเบ้าข้อสะโพก ข้อสะโพกเทียมประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ทดแทนเบ้าข้อสะโพก ส่วนของหัวข้อ สะโพก และส่วนที่ทำหน้าที่ทดแทนกระดูกอ่อน