ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุน ความเสี่ยงในการหกล้มและพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในสตรีสูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคกระดูกพรุน ยุวดี พิบูลลีตระกูล, สุภาพ อารีเอื้อ และ กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์

By: ยุวดี พิบูลลีตระกูลContributor(s): สุภาพ อารีเอื้อ | กมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): กระดูก -- โรค | กระดูกพรุน In: Thai journal of public health ปีที่ 50 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2563) หน้า 393-406Summary: โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือ โรคที่ความหนาแน่นและมวลของกระดูกลดน้อยลงจนทำให้กระดูกเสื่อม เปราะบาง ผิดรูป และมีโอกาสแตกหักได้ง่าย ในผู้ป่วยบางรายกระดูกพรุนมีผลให้ส่วนสูงลดลง เนื่องจากมวลกระดูกผุกร่อน ผลจากโรคกระดูกพรุนคือเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก เนื่องจากกระดูกสามารถรับน้ำหนัก แรงกระแทก หรือแรงกดได้ลดลง จุดเสี่ยงกระดูกหักจากกระดูกพรุน บริเวณที่มักเกิดกระดูกหักจากกระดูกพรุน ได้แก่ กระดูกสันหลัง สะโพก และข้อมือ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือ โรคที่ความหนาแน่นและมวลของกระดูกลดน้อยลงจนทำให้กระดูกเสื่อม เปราะบาง ผิดรูป และมีโอกาสแตกหักได้ง่าย ในผู้ป่วยบางรายกระดูกพรุนมีผลให้ส่วนสูงลดลง เนื่องจากมวลกระดูกผุกร่อน ผลจากโรคกระดูกพรุนคือเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก เนื่องจากกระดูกสามารถรับน้ำหนัก แรงกระแทก หรือแรงกดได้ลดลง จุดเสี่ยงกระดูกหักจากกระดูกพรุน บริเวณที่มักเกิดกระดูกหักจากกระดูกพรุน ได้แก่ กระดูกสันหลัง สะโพก และข้อมือ