ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของนักศึกษาพยาบาล กัญญาวีณ์ โมกขาว, วรพนิต ศุกระแพทย์ และ วลัย พรมลา

By: กัญญาวีณ์ โมกขาวContributor(s): วรพนิต ศุกระแพทย์ | วลัย พรมลาCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ความเครียด (จิตวิทยา) In: พยาบาลศาสตร์และสุขภาพ ปีที่ 44 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2564) หน้า 60-71Summary: ความเครียด คือ ภาวะของอารมณ์ ความรู้สึก ที่ถูกบีบคั้น กดดัน ทำให้มีอาการแสดงที่ต่างกัน เช่น วิตกกังวล นอนไม่หลับ ปวดหัว ซึมเศร้า บางคนอาจมีอาการประสาทหลอนได้ ซึ่งโดยทั่วไปแต่ละคนจะมีวิธีการปรับตัวให้ผ่านพ้นไปได้ขึ้นกับทักษะการจัดการความเครียดของแต่ละบุคคล แต่ในบางคนที่เกิดความเครียดและหาทางระบายออกไม่ได้หรือเครียดบ่อยๆ กลายเป็นความทุกข์ทรมาน จนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อาจพัฒนาเป็นโรคซึมเศร้าหรือโรควิตกกังวล การรักษาอาการเครียด หากความเครียดรบกวนการใชช้ชีวิตประจำวัน รวมถึงกระทบต่อการทำงาน หรือมีผลต่อผู้อื่น การพบจิตแพทย์เพื่อปรึกษาและรักษาอย่างถูกวิธีเป็นสิ่งที่ควรทำอย่างยิ่ง โดยจิตแพทย์จะทำการรักษา
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ความเครียด คือ ภาวะของอารมณ์ ความรู้สึก ที่ถูกบีบคั้น กดดัน ทำให้มีอาการแสดงที่ต่างกัน เช่น วิตกกังวล นอนไม่หลับ ปวดหัว ซึมเศร้า บางคนอาจมีอาการประสาทหลอนได้ ซึ่งโดยทั่วไปแต่ละคนจะมีวิธีการปรับตัวให้ผ่านพ้นไปได้ขึ้นกับทักษะการจัดการความเครียดของแต่ละบุคคล แต่ในบางคนที่เกิดความเครียดและหาทางระบายออกไม่ได้หรือเครียดบ่อยๆ กลายเป็นความทุกข์ทรมาน จนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน อาจพัฒนาเป็นโรคซึมเศร้าหรือโรควิตกกังวล การรักษาอาการเครียด หากความเครียดรบกวนการใชช้ชีวิตประจำวัน รวมถึงกระทบต่อการทำงาน หรือมีผลต่อผู้อื่น การพบจิตแพทย์เพื่อปรึกษาและรักษาอย่างถูกวิธีเป็นสิ่งที่ควรทำอย่างยิ่ง โดยจิตแพทย์จะทำการรักษา