การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะอุณหภูมิกายต่ำในหอผู้ป่วยสูติกรรมหลังคลอดโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง สุธาทิพย์ จั่นงาม, เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย และ พัชราภรณ์ อารีย์

By: สุธาทิพย์ จั่นงามContributor(s): เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย | พัชราภรณ์ อารีย์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ทารกแรกเกิดOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 29 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2564) หน้า 64-75Summary: ทารก คือ เด็กแบเบาะ หรือ เด็กเล็ก ๆ โดยทั่วไปหมายถึงเด็กอายุระหว่าง 1 เดือนขึ้นไป จนถึง 1-2 ปี ทารกอายุน้อยกว่า 1 เดือน เรียกว่า ทารกแรกเกิด เด็กอายุ 1-2 ปีขึ้นไป อาจเรียกว่า เด็กวัยหัดเดิน เด็กที่อยู่ในครรภ์ เรียกว่า ทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิดโดยทั่วไปจะมีไหล่และสะโพกที่กว้าง ท้องยื่น และแขนขาค่อนข้างยาวเมื่อเทียบกับขนาดตัว ข้อมูลจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วพบว่าความยาวโดยเฉลี่ยของทารกแรกเกิดจะอยู่ที่ 35.6-50.8 เซนติเมตร ส่วนทารกแรกเกิดที่เกิดก่อนกำหนดจะมีขนาดเล็กกว่านี้ น้ำหนักแรกเกิดของทารกที่เกิดครบกำหนดโดยเฉลี่ยจะอยู่ที่ 3.4 กิโลกรัม และมักอยู่ในช่วง 2.7-4.6 กิโลกรัม ในช่วง 5-7 วันหลังเกิด ทารกแรกเกิดมักมีน้ำหนักตัวลดลงประมาณ 3-7% เป็นผลจากการปัสสาวะเอาน้ำส่วนเกินในร่างกายซึ่งปกติจะอยู่ในปอดและเนื้อเยื่ออื่น ๆ ออกมา ประกอบกับการที่ปริมาณน้ำนมแม่ในช่วงแรกยังน้อยอยู่ซึ่งจะเพิ่มขึ้นในวันหลัง ๆ หลังจากพ้นสัปดาห์แรกไปแล้ว ทารกแรกเกิดปกติจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 10-20 กรัมต่อวัน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ทารก คือ เด็กแบเบาะ หรือ เด็กเล็ก ๆ โดยทั่วไปหมายถึงเด็กอายุระหว่าง 1 เดือนขึ้นไป จนถึง 1-2 ปี ทารกอายุน้อยกว่า 1 เดือน เรียกว่า ทารกแรกเกิด เด็กอายุ 1-2 ปีขึ้นไป อาจเรียกว่า เด็กวัยหัดเดิน เด็กที่อยู่ในครรภ์ เรียกว่า ทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิดโดยทั่วไปจะมีไหล่และสะโพกที่กว้าง ท้องยื่น และแขนขาค่อนข้างยาวเมื่อเทียบกับขนาดตัว ข้อมูลจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วพบว่าความยาวโดยเฉลี่ยของทารกแรกเกิดจะอยู่ที่ 35.6-50.8 เซนติเมตร ส่วนทารกแรกเกิดที่เกิดก่อนกำหนดจะมีขนาดเล็กกว่านี้ น้ำหนักแรกเกิดของทารกที่เกิดครบกำหนดโดยเฉลี่ยจะอยู่ที่ 3.4 กิโลกรัม และมักอยู่ในช่วง 2.7-4.6 กิโลกรัม ในช่วง 5-7 วันหลังเกิด ทารกแรกเกิดมักมีน้ำหนักตัวลดลงประมาณ 3-7% เป็นผลจากการปัสสาวะเอาน้ำส่วนเกินในร่างกายซึ่งปกติจะอยู่ในปอดและเนื้อเยื่ออื่น ๆ ออกมา ประกอบกับการที่ปริมาณน้ำนมแม่ในช่วงแรกยังน้อยอยู่ซึ่งจะเพิ่มขึ้นในวันหลัง ๆ หลังจากพ้นสัปดาห์แรกไปแล้ว ทารกแรกเกิดปกติจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 10-20 กรัมต่อวัน