กำลังรับแรงอัดและการชะละลายของตะกั่วจากกากตะกอนโลหะหนักที่ทำเป็นก้อนหล่อแข็งโดยใช้ปูนซีเมนต์และเถ้าแกลบ / พิศิษฐ์ วัฒนสมบูรณ์, อรวรรณ มนูญวงศ์

By: พิศิษฐ์ วัฒนสมบูรณ์Contributor(s): อรวรรณ มนูญวงศ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ตะกั่ว In: สาธารณสุขศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 (กันยายน - สิงหาคม 2543) หน้า 181-191Summary: ตะกั่วเป็นของเสียอันตรายจัดอยู่ในข่ายสารพิษที่ต้องทำลายฤทธิ์ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ก่อนนำไปฝังกลบ การบำบัดกากตะกอนตะกั่วที่เหมาะกับประเทศกำลังพัฒนาคือ การทำให้เป็นก้อนหล่อแข็ง โดยใช้ปูนซีเมนต์และเถ้าแกลบเป็นตัวประสาน จากการทดสอบพบว่าค่ากำลังรับแรงอัดของก้อนหล่อแข็งจะเพิ่มขึ้น (มีต่อ)Summary: เมื่อใช้ปริมาณกากตะกอนตะกั่วน้อย และเพิ่มระยะเวลาการบ่มซีเมนต์ให้นานขึ้น การชะละลายของตะกั่วจะน้อยลงถ้า pH ของสารละลายที่ใช้สกัดมีค่าเพิ่มขึ้น ดังนั้นการนำก้อนหล่อแข็งที่มีกากตะกอนตะกั่วไปฝังกลบควรเลือกสถานที่ที่มีสภาพดินและน้ำมีค่า pH เป็นด่าง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ตะกั่วเป็นของเสียอันตรายจัดอยู่ในข่ายสารพิษที่ต้องทำลายฤทธิ์ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ก่อนนำไปฝังกลบ การบำบัดกากตะกอนตะกั่วที่เหมาะกับประเทศกำลังพัฒนาคือ การทำให้เป็นก้อนหล่อแข็ง โดยใช้ปูนซีเมนต์และเถ้าแกลบเป็นตัวประสาน จากการทดสอบพบว่าค่ากำลังรับแรงอัดของก้อนหล่อแข็งจะเพิ่มขึ้น (มีต่อ)

เมื่อใช้ปริมาณกากตะกอนตะกั่วน้อย และเพิ่มระยะเวลาการบ่มซีเมนต์ให้นานขึ้น การชะละลายของตะกั่วจะน้อยลงถ้า pH ของสารละลายที่ใช้สกัดมีค่าเพิ่มขึ้น ดังนั้นการนำก้อนหล่อแข็งที่มีกากตะกอนตะกั่วไปฝังกลบควรเลือกสถานที่ที่มีสภาพดินและน้ำมีค่า pH เป็นด่าง