ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยจิตสังคม และปัจจัยสิ่งแวดล้อมกับการกลับมาเสพยาซ้ำของผู้กลับไปเสพเมทแอมเฟตามีนซ้ำในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ศิริลักษณ์ ปัญญา และคนอื่นๆ

Contributor(s): ศิริลักษณ์ ปัญญา และคนอื่นๆCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สารเสพติดGenre/Form: เมทแอมเฟตามีน Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสาร ปีที่ 48 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2564) หน้า 273-282Summary: เมแอมเฟตามีน หรือชื่อในระบบ IUPAC คือ เอ็น-เมทิลแอมฟีตะมีน เป็นสารกระตุ้นหนักระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนมากถูกใช้เป็นสารเสพติดและถูกใช้บ้างในการรักษาโรคซนสมาธิสั้นและโรคอ้วน เมแอมเฟตามีนมีพิษต่อระบบประสาทของมนุษย์และสามารถถูกใช้เป็นสารเสพติดประเภทกระตุ้นความต้องการทางเพศและมัวเมา ขณะเดียวกันก็มียาชนิดอื่นที่ปลอดภัยกว่าและมีประสิทธิผลทัดเทียมกัน การสั่งจ่ายเมแอมเฟตามีนโดยแพทย์จึงพบได้ยากในปัจจุบัน ปัจจุบัน การค้าและครอบครองทั้งเมแอมเฟตามีนและเดกซ์โตรเมแอมเฟตามีนเพื่อการเสพถือว่าผิดกฎหมาย การใช้เมแอมเฟตามีนอย่างผิดกฎหมายพบได้มากที่สุดในเอเชีย, โอเชียเนียและในสหรัฐอเมริกา ซึ่งในสหรัฐ ทั้งเมแทมเฟตามีน, เดกซ์โตรเมแอมเฟตามีน และเลโวเมแทมเฟตามีนถูกจัดอยู่ในบัญชีที่สอง ประเภทสารควบคุม โดยเลโวเมแอมเฟตามีนเป็นยาจำหน่ายหน้าเคาน์เตอร์สำหรับใช้เป็นยาลดอาการคัดจมูกในสหรัฐ แต่โดยสากลแล้ว การผลิต จำหน่ายและครอบครองเมแทมเฟตามีนนั้นถูกควบคุมหรือต้องห้ามในประเทศส่วนใหญ่ เนื่องจากเป็นสารที่อยู่ในบัญชีที่สองของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสารที่มีผลต่อจิตใจ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เมแอมเฟตามีน หรือชื่อในระบบ IUPAC คือ เอ็น-เมทิลแอมฟีตะมีน เป็นสารกระตุ้นหนักระบบประสาทส่วนกลาง ส่วนมากถูกใช้เป็นสารเสพติดและถูกใช้บ้างในการรักษาโรคซนสมาธิสั้นและโรคอ้วน เมแอมเฟตามีนมีพิษต่อระบบประสาทของมนุษย์และสามารถถูกใช้เป็นสารเสพติดประเภทกระตุ้นความต้องการทางเพศและมัวเมา ขณะเดียวกันก็มียาชนิดอื่นที่ปลอดภัยกว่าและมีประสิทธิผลทัดเทียมกัน การสั่งจ่ายเมแอมเฟตามีนโดยแพทย์จึงพบได้ยากในปัจจุบัน ปัจจุบัน การค้าและครอบครองทั้งเมแอมเฟตามีนและเดกซ์โตรเมแอมเฟตามีนเพื่อการเสพถือว่าผิดกฎหมาย การใช้เมแอมเฟตามีนอย่างผิดกฎหมายพบได้มากที่สุดในเอเชีย, โอเชียเนียและในสหรัฐอเมริกา ซึ่งในสหรัฐ ทั้งเมแทมเฟตามีน, เดกซ์โตรเมแอมเฟตามีน และเลโวเมแทมเฟตามีนถูกจัดอยู่ในบัญชีที่สอง ประเภทสารควบคุม โดยเลโวเมแอมเฟตามีนเป็นยาจำหน่ายหน้าเคาน์เตอร์สำหรับใช้เป็นยาลดอาการคัดจมูกในสหรัฐ แต่โดยสากลแล้ว การผลิต จำหน่ายและครอบครองเมแทมเฟตามีนนั้นถูกควบคุมหรือต้องห้ามในประเทศส่วนใหญ่ เนื่องจากเป็นสารที่อยู่ในบัญชีที่สองของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสารที่มีผลต่อจิตใจ