การพัฒนาแนวปฏิบัติการตรวจนับวัสดุผ่าตัดสำหรับผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดใหญ่ห้องผ่าตัด ผกาภรณ์ พินิจจันทรานุกูล และ บังอร ศรีสงคราม

By: ผกาภรณ์ พินิจจันทรานุกูลContributor(s): บังอร ศรีสงครามCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การผ่าตัดOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลศาสตร์และสุขภาพ ปีที่ 44 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2564) หน้า 69-82Summary: การผ่าตัดใหญ่ คือการผ่าตัดที่ต้องทำนานกว่า 1 ชม 30 นาที มีโอกาสเสียเลือดสูง จำเป็นต้องใช้ห้องผ่าตัดที่สะอาด มีวิสัญญีแพทย์ให้ดมยาสลบหรือทำการระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง ฉีดยา block ความรู้สึกที่หลัง มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนทางหัวใจ ไต สมองได้สูง หรืออาจต้องใช้ในการผ่าตัดเล็กแต่คนไข้ไม่ให้ความร่วมมือเช่น การถอนฟันผู้ป่วยเด็กโตบางคน การผ่าตัดเล็กเป็นการผ่าตัดที่ใช้เวลาไม่นาน ไม่เกิน 1 ชม เป็นส่วนใหญ่ ไม่จำเป็นต้องดมยาสลบให้หลับหรือ block หลัง แค่ฉีดยาชาก็พอ ใช้ในการผ่าฝี เย็บแผลเล็กๆ หรือผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกเล็กๆออกจากผิวหนัง เป็นต้น มีโรคแทรกซ้อนน้อย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การผ่าตัดใหญ่ คือการผ่าตัดที่ต้องทำนานกว่า 1 ชม 30 นาที มีโอกาสเสียเลือดสูง จำเป็นต้องใช้ห้องผ่าตัดที่สะอาด มีวิสัญญีแพทย์ให้ดมยาสลบหรือทำการระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง ฉีดยา block ความรู้สึกที่หลัง มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนทางหัวใจ ไต สมองได้สูง หรืออาจต้องใช้ในการผ่าตัดเล็กแต่คนไข้ไม่ให้ความร่วมมือเช่น การถอนฟันผู้ป่วยเด็กโตบางคน การผ่าตัดเล็กเป็นการผ่าตัดที่ใช้เวลาไม่นาน ไม่เกิน 1 ชม เป็นส่วนใหญ่ ไม่จำเป็นต้องดมยาสลบให้หลับหรือ block หลัง แค่ฉีดยาชาก็พอ ใช้ในการผ่าฝี เย็บแผลเล็กๆ หรือผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกเล็กๆออกจากผิวหนัง เป็นต้น มีโรคแทรกซ้อนน้อย