ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในชุมชน อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ อ้อยทิพย์ บัวจันทร์, ณัฐปภัสญ์ นวลสีทอง, ธมลวรรณ สวัสดิ์สิงห์ และ ฐาติมา เพชรนุ้ย

By: อ้อยทิพย์ บัวจันทร์Contributor(s): ณัฐปภัสญ์ นวลสีทอง | ธมลวรรณ สวัสดิ์สิงห์ | ฐาติมา เพชรนุ้ยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- การดูแลOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาล ปีที 70 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2564) หน้า 20-27Summary: ความก้าวหน้าทางการแพทย์และการสาธารณสุข รวมทั้งการกระจายบริการสาธารณสุข ทำให้ประชาชนได้รับการบริการอย่างทั่วถึงและช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวนมากถึง 10,666,803 คน การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความสูงวัย นับเป็นสิ่งเร้าที่มาจากสิ่งแวดล้อมอยู่ภายในบุคคลและภายนอกบุคคลที่กระตุ้นให้ผู้สูงวัยต้องมีการปรับตัว ถ้าสิ่งเร้าดังกล่าวอยู่ภายในขอบเขตที่ผู้สุงอายุสามารถตอบสนองในทางบวกได้ ผู้สูงอายุจะมีการแสดงพฤติกรรมการปรับตัวที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดี
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ความก้าวหน้าทางการแพทย์และการสาธารณสุข รวมทั้งการกระจายบริการสาธารณสุข ทำให้ประชาชนได้รับการบริการอย่างทั่วถึงและช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวนมากถึง 10,666,803 คน การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากความสูงวัย นับเป็นสิ่งเร้าที่มาจากสิ่งแวดล้อมอยู่ภายในบุคคลและภายนอกบุคคลที่กระตุ้นให้ผู้สูงวัยต้องมีการปรับตัว ถ้าสิ่งเร้าดังกล่าวอยู่ภายในขอบเขตที่ผู้สุงอายุสามารถตอบสนองในทางบวกได้ ผู้สูงอายุจะมีการแสดงพฤติกรรมการปรับตัวที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดี