การพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมการฟื้นตัวในผู้ป่วยสูงอายุหลังผ่าตัดช่องท้อง ทิพวัลย์ รัตนพันธ์, ทิพมาส ชิณวงศ์ และ ขนิษฐา นาคะ

By: ทิพวัลย์ รัตนพันธ์Contributor(s): ทิพมาส ชิณวงศ์ | ขนิษฐา นาคะCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การผ่าตัดGenre/Form: การผ่าตัดช่องท้อง Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสงขลานครินทร์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2564) หน้า 60-73Summary: การผ่าตัดช่องท้อง เป็นการผ่าตัดเพื่อการสํารวจดูโดยมีการตัดผ่านผนังหน้าท้องและเยื่อบุช่องท้องเข้าไปเพื่อตรวจวินิจฉัย และรักษาพยาธิสภาพต่างๆที่เกิดกับอวัยวะภายในช่องท้อง1,2 การจําแนกตามวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) การผ่าตัดเพื่อการวินิจฉัย เพื่อหาสาเหตุของความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย เช่น การตัดเนื้อเยื่อส่งตรวจ การขูดเนื้อเยื่อส่งตรวจ 2) การผ่าตัดเพื่อสํารวจดูเพื่อช่วยให้แพทย์สามารถประเมินและการวินิจฉัยได้แน่นอน เช่น การผ่าตัดเพื่อสํารวจดูช่องท้อง 3) การผ่าตัดเพื่อเป็นการรักษาเพื่อเอาอวัยวะส่วนที่เป็นโรคหรือซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น การผ่าตัดเอาไส้ติ่งออก เป็นต้น 4) การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการเพื่อช่วยให้อาการต่างๆของผู้ป่วยทุเลาลง เช่น การผ่าตัดใส่ท่อทางเดินอาหารในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งหลอดอาหาร
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การผ่าตัดช่องท้อง เป็นการผ่าตัดเพื่อการสํารวจดูโดยมีการตัดผ่านผนังหน้าท้องและเยื่อบุช่องท้องเข้าไปเพื่อตรวจวินิจฉัย และรักษาพยาธิสภาพต่างๆที่เกิดกับอวัยวะภายในช่องท้อง1,2 การจําแนกตามวัตถุประสงค์ได้แก่ 1) การผ่าตัดเพื่อการวินิจฉัย เพื่อหาสาเหตุของความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย เช่น การตัดเนื้อเยื่อส่งตรวจ การขูดเนื้อเยื่อส่งตรวจ 2) การผ่าตัดเพื่อสํารวจดูเพื่อช่วยให้แพทย์สามารถประเมินและการวินิจฉัยได้แน่นอน เช่น
การผ่าตัดเพื่อสํารวจดูช่องท้อง 3) การผ่าตัดเพื่อเป็นการรักษาเพื่อเอาอวัยวะส่วนที่เป็นโรคหรือซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น การผ่าตัดเอาไส้ติ่งออก เป็นต้น 4) การผ่าตัดเพื่อบรรเทาอาการเพื่อช่วยให้อาการต่างๆของผู้ป่วยทุเลาลง เช่น การผ่าตัดใส่ท่อทางเดินอาหารในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งหลอดอาหาร