เอกสารสิทธิบัตร : แหล่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี / รดาวรรณ ศิลปโภชากุล

By: รดาวรรณ ศิลปโภชากุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เอกสารสิทธิบัตร | SCI-TECH In: วิทยาศาสตร์ ปีที่ 51 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2540) หน้า 280-282Summary: ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี สามารถพัฒนา ได้โดย การศึกษา จากเอกสาร หรือแหล่ง ความรู้ต่างๆ ควบคู่ไปกับ การทดลองวิจัย หากศึกษาวิจัย ด้วยตัวเอง ทั้งหมด ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก และ บางครั้งเป็น การสิ้นเปลือง โดยใช่เหตุ เพราะเป็นการทำ ซ้ำกับงาน ที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว การวิจัย และพัฒนา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีSummary: จึงต้องศึกษา หาความรู้ จากเอกสาร ให้ถ้วนถี่เสียก่อน ที่จะลงมือทำการ ศึกษาทดลอง เอกสารที่เป็นแหล่ง ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ที่รู้จักกันดี คือ ตำราและวารสาร ทางวิชาการ แต่เอกสาร อีกประเภทหนึ่ง ที่แทบไม่รู้จัก และ นำมาใช้ประโยชน์กันคือ เอกสารสิทธิบัตร ทั้งที่มีเอกสาร (มีต่อ)Summary: ที่มีข้อมูล ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่สามารถ นำมาประกอบ ใช้ได้ใน เชิงอุตสาหกรรม การพัฒนาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ให้ก้าวหน้า และทันสมัยนั้น ต้องติดตาม ศึกษาจากเอกสาร สิทธิบัตร เพราะเอกสารสิทธิบัตร เป็นเอกสาร ที่เปิดเผย รายละเอียด ของข้อมูล ความรู้ใหม่ เกี่ยวกับ การประดิษฐ์ ที่มีผู้ยื่นขอ จดสิทธิบัตร (มีต่อ)Summary: กฎหมายสิทธิบัตร มีข้อกำหนด สำคัญคือ การประดิษฐ์ ที่จะขอจด สิทธิบัตรได้ต้อง เป็นสิ่งใหม่ ที่ยังไม่มีใคร คิดค้นได้ และข้อมูล รายละเอียด ของการประดิษฐ์ ต้องไม่เคยเผยแพร่ ณ ที่ใด หรือตีพิมพ์ ในสิ่งพิมพ์ใดมาก่อน การศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ ในเอกสาร สิทธิบัตร เป็นการรับถ่ายทอด เทคโนโลยี ที่เสียค่าใช้จ่ายน้อย (มีต่อ)Summary: แต่น่าเสียดาย ที่นักประดิษฐ์ นักวิจัย และผู้ผลิต ของไทย รู้จักนำ ความรู้ในเอกสาร สิทธิบัตร มาใช้น้อยมาก ประเทศไทย จึงต้องเสีย ค่าใช้จ่าย จำนวนมาก สำหรับซื้อหา เทคโนโลยีมาใช้ ทั้งที่ความรู้นั้น สามารถหาได้จาก เอกสาร สิทธิบัตร ซึ่งเสียค่าใช้จ่าย เพียงเล็กน้อย ในการซื้อหามา ศึกษา ความรู้จาก เอกสารสิทธิบัตร เป็นการได้รับ ความรู้ใหม่ และทันสมัย กว่าเอกสาร วิชาการประเภทอื่นๆ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี สามารถพัฒนา ได้โดย การศึกษา จากเอกสาร หรือแหล่ง ความรู้ต่างๆ ควบคู่ไปกับ การทดลองวิจัย หากศึกษาวิจัย ด้วยตัวเอง ทั้งหมด ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก และ บางครั้งเป็น การสิ้นเปลือง โดยใช่เหตุ เพราะเป็นการทำ ซ้ำกับงาน ที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว การวิจัย และพัฒนา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

จึงต้องศึกษา หาความรู้ จากเอกสาร ให้ถ้วนถี่เสียก่อน ที่จะลงมือทำการ ศึกษาทดลอง เอกสารที่เป็นแหล่ง ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ที่รู้จักกันดี คือ ตำราและวารสาร ทางวิชาการ แต่เอกสาร อีกประเภทหนึ่ง ที่แทบไม่รู้จัก และ นำมาใช้ประโยชน์กันคือ เอกสารสิทธิบัตร ทั้งที่มีเอกสาร (มีต่อ)

ที่มีข้อมูล ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่สามารถ นำมาประกอบ ใช้ได้ใน เชิงอุตสาหกรรม การพัฒนาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ให้ก้าวหน้า และทันสมัยนั้น ต้องติดตาม ศึกษาจากเอกสาร สิทธิบัตร เพราะเอกสารสิทธิบัตร เป็นเอกสาร ที่เปิดเผย รายละเอียด ของข้อมูล ความรู้ใหม่ เกี่ยวกับ การประดิษฐ์ ที่มีผู้ยื่นขอ จดสิทธิบัตร (มีต่อ)

กฎหมายสิทธิบัตร มีข้อกำหนด สำคัญคือ การประดิษฐ์ ที่จะขอจด สิทธิบัตรได้ต้อง เป็นสิ่งใหม่ ที่ยังไม่มีใคร คิดค้นได้ และข้อมูล รายละเอียด ของการประดิษฐ์ ต้องไม่เคยเผยแพร่ ณ ที่ใด หรือตีพิมพ์ ในสิ่งพิมพ์ใดมาก่อน การศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ ในเอกสาร สิทธิบัตร เป็นการรับถ่ายทอด เทคโนโลยี ที่เสียค่าใช้จ่ายน้อย (มีต่อ)

แต่น่าเสียดาย ที่นักประดิษฐ์ นักวิจัย และผู้ผลิต ของไทย รู้จักนำ ความรู้ในเอกสาร สิทธิบัตร มาใช้น้อยมาก ประเทศไทย จึงต้องเสีย ค่าใช้จ่าย จำนวนมาก สำหรับซื้อหา เทคโนโลยีมาใช้ ทั้งที่ความรู้นั้น สามารถหาได้จาก เอกสาร สิทธิบัตร ซึ่งเสียค่าใช้จ่าย เพียงเล็กน้อย ในการซื้อหามา ศึกษา ความรู้จาก เอกสารสิทธิบัตร เป็นการได้รับ ความรู้ใหม่ และทันสมัย กว่าเอกสาร วิชาการประเภทอื่นๆ