ความสัมพันธ์ของความรุนแรงของอาการที่พบบ่อยทางคลินิก กับความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม / พรพิมล เลิศพานิช

By: พรพิมล เลิศพานิชContributor(s): ภัทรานิษฐ์ เมธีพิสิษฐ์ | วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์ | ศุภรัตน์ แป้นโพธิ์กลาง | อำภาพร นามวงศ์พรหมCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ความวิตกกังวล -- ผู้ป่วยมะเร็งOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสงขลานครินทร์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2564) หน้า 1-12Summary: มะเร็งระยะลุกลามเป็นมะเร็งที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้รวมทั้งไม่สามารถระบุระยะของโรคตามระบบ T-M-N staging ได้ เนื่องจากการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งระยะลุกลามจะพิจารณาจากการรักษา หากไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ก็จัดเป็นมะเร็งระยะลุกลาม1,2 ดังนั้น การรักษามะเร็งระยะนี้จึงเป็นไปเพื่อประคับประคองและบรรเทาความทุกข์ทรมานจากอาการอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพของโรค เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและยืดชีวิตของผู้ป่วย ซึ่งวิธีรักษาแบบประคับประคอง (Palliative Treatment) มีทั้งการผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ฮอร์โมนและยามุ่งเป้า ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับการรักษาวิธีใดนั้นขึ้นกับตำแหน่งและการแพร่กระจายของโรค
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

มะเร็งระยะลุกลามเป็นมะเร็งที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้รวมทั้งไม่สามารถระบุระยะของโรคตามระบบ T-M-N staging ได้ เนื่องจากการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งระยะลุกลามจะพิจารณาจากการรักษา หากไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ก็จัดเป็นมะเร็งระยะลุกลาม1,2 ดังนั้น การรักษามะเร็งระยะนี้จึงเป็นไปเพื่อประคับประคองและบรรเทาความทุกข์ทรมานจากอาการอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพของโรค เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและยืดชีวิตของผู้ป่วย ซึ่งวิธีรักษาแบบประคับประคอง (Palliative Treatment) มีทั้งการผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ฮอร์โมนและยามุ่งเป้า ซึ่งผู้ป่วยจะได้รับการรักษาวิธีใดนั้นขึ้นกับตำแหน่งและการแพร่กระจายของโรค