ประสบการณ์ของครอบครัวผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กวิกฤตระยะท้ายของชีวิต : การศึกษาปรากฏการณ์วิทยา หทัยชนก นิติกุล และ เสาวนีย์ ทรงประโคน

By: หทัยชนก นิติกุลContributor(s): เสาวนีย์ ทรงประโคนCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เด็ก -- การดูแลOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สภาการพยาบาล ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2565) หน้า 59-74Summary: การดูแลแบบประคับประคอง หมายถึง การดูแลผู้ป่วยให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพมากที่สุดเท่าที่สามารถจะกระทำได้ ในช่วงสุดท้ายของชีวิต เพราะเป็นการดูแลผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายจากการเจ็บป่วยได้ ผู้ดูแลต้องมีละเอียดอ่อนมากกว่าการดูแลปกติ โดยเฉพาะความรู้สึกด้านจิตใจของผู้ป่วยที่ต้องทุกข์ ทรมานจากการเจ็บป่วยแล้วยังรับรู้ว่าตนเองไม่สามารถหายจากอาการที่เป็นอยู่ได้ อีกทั้งอาการจะมีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนือง โดยเฉพาะในผู้ป่วยเด็ก ซึ่งที่ไวต่อความรู้สึก อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย มีความอดทนต่ำกว่าผู้ใหญ่ และที่สำคัญบางรายยังขาดความพร้อมด้านการสื่อสาร
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การดูแลแบบประคับประคอง หมายถึง การดูแลผู้ป่วยให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพมากที่สุดเท่าที่สามารถจะกระทำได้ ในช่วงสุดท้ายของชีวิต เพราะเป็นการดูแลผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายจากการเจ็บป่วยได้ ผู้ดูแลต้องมีละเอียดอ่อนมากกว่าการดูแลปกติ โดยเฉพาะความรู้สึกด้านจิตใจของผู้ป่วยที่ต้องทุกข์ ทรมานจากการเจ็บป่วยแล้วยังรับรู้ว่าตนเองไม่สามารถหายจากอาการที่เป็นอยู่ได้ อีกทั้งอาการจะมีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนือง โดยเฉพาะในผู้ป่วยเด็ก ซึ่งที่ไวต่อความรู้สึก อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย มีความอดทนต่ำกว่าผู้ใหญ่ และที่สำคัญบางรายยังขาดความพร้อมด้านการสื่อสาร