ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคจุดรับภาพชัดเสื่อมเหตุจากอายุ ณัฐนิช ขันหลวง, สุนีย์ ละกำปั่น และ ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ

By: ณัฐนิช ขันหลวงContributor(s): สุนีย์ ละกำปั่น | ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ตา -- โรคGenre/Form: โรคจุดรับภาพเสื่อม Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสาธารณสุข ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2565) หน้า 118-134Summary: โรคจุดรับภาพชัดจอตาเสื่อม เกิดจากการเสื่อมของบริเวณจุดภาพชัดของจอประสาทตา ทำให้สูญเสียการมองเห็นเฉพะส่วนกลางของภาพ แต่กาพด้านข้างของการมองเห็นยังคงชัดเจน พบในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้กลุ่มผู้สูงอายุสูญเสียการมองเห็น อาการของโรค คือ ตามัว เห็นสีไม่ชัดเจน ภาพบิดเบี้ยวและภาพแหว่งบริเวณกลางภาพ ผู้ที่มีโรคจุดภาพชัดที่จอตาเสื่อม อาจไม่มีอาการในระยะเริ่มต้น ถ้าบริเวณที่เสื่อมมีขนาดเล็กมาก และหากจุดภาพชัดของตาอีกข้างยังปกติ เมื่อใช้ตา 2 ขัางร่วมกัน ผู้ป่วยอาจไม่สังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลง ต่อมาเมื่อความเสื่อมมากขึ้นจึงมีอาการมองภาพไม่ชัด เห็นภาพบิดเบี้ยว เห็นจุดดำ หรือจุดบอดที่บริเวณส่วนกลางภาพในที่สุด โดยไม่มีอาการเจ็บปวด ดังนั้น โดยตัวของโรคจอประสาทตาเสื่อม จะไม่ทำให้การมองเห็นมืดสนิทไปทั้งหมด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคจุดรับภาพชัดจอตาเสื่อม เกิดจากการเสื่อมของบริเวณจุดภาพชัดของจอประสาทตา ทำให้สูญเสียการมองเห็นเฉพะส่วนกลางของภาพ แต่กาพด้านข้างของการมองเห็นยังคงชัดเจน พบในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้กลุ่มผู้สูงอายุสูญเสียการมองเห็น อาการของโรค คือ ตามัว เห็นสีไม่ชัดเจน ภาพบิดเบี้ยวและภาพแหว่งบริเวณกลางภาพ ผู้ที่มีโรคจุดภาพชัดที่จอตาเสื่อม อาจไม่มีอาการในระยะเริ่มต้น ถ้าบริเวณที่เสื่อมมีขนาดเล็กมาก และหากจุดภาพชัดของตาอีกข้างยังปกติ เมื่อใช้ตา 2 ขัางร่วมกัน ผู้ป่วยอาจไม่สังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลง ต่อมาเมื่อความเสื่อมมากขึ้นจึงมีอาการมองภาพไม่ชัด เห็นภาพบิดเบี้ยว เห็นจุดดำ หรือจุดบอดที่บริเวณส่วนกลางภาพในที่สุด โดยไม่มีอาการเจ็บปวด ดังนั้น โดยตัวของโรคจอประสาทตาเสื่อม จะไม่ทำให้การมองเห็นมืดสนิทไปทั้งหมด