พฤติกรรมการบริโภคอาหารและโภชนาการของผู้ที่เป็นโรคมะเร็งศีรษะและคอ อรวรรณ เรือนมี, ประทุม สร้อยวงค์ และ พัชราภรณ์ อารีย์

By: อรวรรณ เรือนมีContributor(s): ประทุม สร้อยวงค์ | พัชราภรณ์ อารีย์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): มะเร็ง -- โรคGenre/Form: โรคมะเร็งศีรษะและคอ Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 49 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2565) หน้า 134-148Summary: มะเร็งของศีรษะลำคอ หมายถึง มะเร็งที่เกิดขึ้นในเยื่อบุผิวทางเดินหายใจและทางเดินอาหารส่วนต้น โดยตำแหน่งที่สำคัญในทางเดินอาหารและหายใจส่วนบนที่อาจเกิดเป็นมะเร็ง โดยตำแหน่งที่สำคัญในทางเดินอาหารและหายใจส่วนบนที่อาจเกิดเป็นโรคมะเร็ง ได้แก่ ช่องปาก ช่องคอ โพรงรอบจมูกเท่านั้น มะเร็งศีรษะและลำคอเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขระดับโลก สำหรับประเทศไทย พบว่าปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งศีรษะและลำคอมาจากการสูบบุหรี่และดื่มเหล้า ส่วนการเคี้ยวหมากร่วมกับใบยาสูญเป็นพฤติกรรมที่พบบ่อยในอดีต และเป็นปัจจัยที่สำคัญในการเกิด “มะเร็งช่องปาก” โดยเฉพาะบริเวณกระพุ้งแก้ม ผู้ป่วยบางรายอาจมีความผิดปกติระดับยีนที่เสริมให้เกิดมะเร็งจากการดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ นอกจากนี้ยังมีสาเหตุเสริมอื่น ๆ ได้แก่ ภาระภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติทางพันธุกรรม อาจมีส่วนทำให้เกิดมะเร็งศีรษะและลำคอ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

มะเร็งของศีรษะลำคอ หมายถึง มะเร็งที่เกิดขึ้นในเยื่อบุผิวทางเดินหายใจและทางเดินอาหารส่วนต้น โดยตำแหน่งที่สำคัญในทางเดินอาหารและหายใจส่วนบนที่อาจเกิดเป็นมะเร็ง โดยตำแหน่งที่สำคัญในทางเดินอาหารและหายใจส่วนบนที่อาจเกิดเป็นโรคมะเร็ง ได้แก่ ช่องปาก ช่องคอ โพรงรอบจมูกเท่านั้น มะเร็งศีรษะและลำคอเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขระดับโลก สำหรับประเทศไทย พบว่าปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งศีรษะและลำคอมาจากการสูบบุหรี่และดื่มเหล้า ส่วนการเคี้ยวหมากร่วมกับใบยาสูญเป็นพฤติกรรมที่พบบ่อยในอดีต และเป็นปัจจัยที่สำคัญในการเกิด “มะเร็งช่องปาก” โดยเฉพาะบริเวณกระพุ้งแก้ม ผู้ป่วยบางรายอาจมีความผิดปกติระดับยีนที่เสริมให้เกิดมะเร็งจากการดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ นอกจากนี้ยังมีสาเหตุเสริมอื่น ๆ ได้แก่ ภาระภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติทางพันธุกรรม อาจมีส่วนทำให้เกิดมะเร็งศีรษะและลำคอ