ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์พฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ในอำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย / ภัทรพล มากมี

By: ภัทรพล มากมีContributor(s): พิษณุรักษ์ กันทวี | วิภพ สุทธนะ | ธนูศิลป์ สลีอ่อนCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- การดูแลตนเองGenre/Form: โรคความดันโลหิตสูง Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สุขศึกษา ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) หน้า 86-98Summary: พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เป็นสิ่งที่จำเป็นมากเพราะโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาหายขาดได้โดยผู้ป่วยต้องปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิต (Lifestyle) ที่เหมาะสมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาหลังจากป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง เพื่อควบคุม ระดับความดันโลหิตให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม และป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเพื่อให้ตนเอง ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ดังนั้นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุควร ปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกาย การผ่อนคลายความเครียด การไม่สูบบุหรี่ การรับประทานยา การไปตรวจตามนัด ด้วยแนวคิดที่ว่าพฤติกรรมบุคคลมีสาเหตุมาจากพหุปัจจัย (multiple factor)
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เป็นสิ่งที่จำเป็นมากเพราะโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาหายขาดได้โดยผู้ป่วยต้องปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิต (Lifestyle) ที่เหมาะสมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาหลังจากป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง เพื่อควบคุม ระดับความดันโลหิตให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม และป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเพื่อให้ตนเอง ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ดังนั้นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุควร ปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกาย การผ่อนคลายความเครียด การไม่สูบบุหรี่ การรับประทานยา การไปตรวจตามนัด ด้วยแนวคิดที่ว่าพฤติกรรมบุคคลมีสาเหตุมาจากพหุปัจจัย (multiple factor)