ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณที่ประยุกต์แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ตำบลบางขันแตก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม / สิรินันท์ ฉิมพาลี

By: สิรินันท์ ฉิมพาลีContributor(s): ธราดล เก่งการพานิช | มณฑา เก่งการพานิช | ศรัณญา เบญจกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ยาแผนโบราณ -- ผู้สูงอายุGenre/Form: พฤติกรรมการใช้ยา Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สุขศึกษา ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) หน้า 160-171Summary: กระแสการบริโภคยาสมุนไพรและต ารับยาแผนโบราณได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางจากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าในปี พ.ศ.2550 ประชากรร้อยละ 1 ยังคงมีการใช้ยาแผนโบราณเมื่อมีอาการเจ็บป่วย ซึ่งพบว่าผู้สูงอายุมีการใช้ยาแผนโบราณมากถึงร้อยละ 41.4 ประเภทยาแผนโบราณที่ผู้ป่วยเลือกทานเองมากที่สุด คือยาชุด ร้อยละ 26.3ยาหม้อ ร้อยละ 23.5และยาลูกกลอน ร้อยละ 21.8ตามลำดับ เหตุผลหลักที่เลือกใช้ยาคือรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ ร้อยละ 43.63เมื่อความต้องการใช้ยาแผนโบราณมากขึ้น การผลิตที่เพิ่มมากขึ้นเพื่อการค้าและกำไรจึงท าให้เกิดปัญหาการผลิตยาแผนโบราณด้วยการผสมสารอันตรายโดยเฉพาะยากลุ่มสเตรียรอยด์ (steroid) ลงไปเพื่อให้ประสิทธิภาพของยาดีขึ้น
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กระแสการบริโภคยาสมุนไพรและต ารับยาแผนโบราณได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางจากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่าในปี พ.ศ.2550 ประชากรร้อยละ 1 ยังคงมีการใช้ยาแผนโบราณเมื่อมีอาการเจ็บป่วย ซึ่งพบว่าผู้สูงอายุมีการใช้ยาแผนโบราณมากถึงร้อยละ 41.4 ประเภทยาแผนโบราณที่ผู้ป่วยเลือกทานเองมากที่สุด คือยาชุด ร้อยละ 26.3ยาหม้อ ร้อยละ 23.5และยาลูกกลอน ร้อยละ 21.8ตามลำดับ เหตุผลหลักที่เลือกใช้ยาคือรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อหรือข้อ ร้อยละ 43.63เมื่อความต้องการใช้ยาแผนโบราณมากขึ้น การผลิตที่เพิ่มมากขึ้นเพื่อการค้าและกำไรจึงท าให้เกิดปัญหาการผลิตยาแผนโบราณด้วยการผสมสารอันตรายโดยเฉพาะยากลุ่มสเตรียรอยด์ (steroid) ลงไปเพื่อให้ประสิทธิภาพของยาดีขึ้น