ผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจต่อแรงจูงใจในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง / ศิริลักษณ์ ผมขาว

By: ศิริลักษณ์ ผมขาวContributor(s): นารีรัตน์ จิตรมนตรี | วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การสร้างแรงจูงใจ -- การฟื้นฟูสมรรถภาพGenre/Form: โรคหลอดเลือดสมอง Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สภาการพยาบาล ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2562) หน้า 30-42Summary: โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตเป็นอาการทางคลินิกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เกิดความผิดปกติของการทำงานของระบบหลอดเลือดสมองอาการจะแสดงนานมากกว่า 24 ชั่วโมง จนทำให้เสียชีวิตได้1 และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับสอง ในผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี2ปัจจุบันความเจริญทางการแพทย์ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทำให้มีจำนวนผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มมากขึ้น แต่มีความพิการหลงเหลืออยู่ร้อยละ 9.6 ของผู้พิการทั้งประเทศ ได้แก่ แขนขา อ่อนแรงครึ่งซีก การรู้คิด-การรับรู้ความรู้สึกบกพร่องกลืนลำบาก มีปัญหาการทรงตัว การเดิน กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ลักษณะที่พบมากที่สุด คือ ภาวะแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก ร้อยละ 883 ทำให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่รอดชีวิตต้องอยู่ในภาวะที่พึ่งพิง ต้องได้รับการดูแลจากผู้ดูแล เนื่องจากช่วยเหลือตนเองได้ลดลง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตเป็นอาการทางคลินิกที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เกิดความผิดปกติของการทำงานของระบบหลอดเลือดสมองอาการจะแสดงนานมากกว่า 24 ชั่วโมง จนทำให้เสียชีวิตได้1 และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับสอง ในผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี2ปัจจุบันความเจริญทางการแพทย์ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทำให้มีจำนวนผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มมากขึ้น แต่มีความพิการหลงเหลืออยู่ร้อยละ 9.6 ของผู้พิการทั้งประเทศ ได้แก่ แขนขา อ่อนแรงครึ่งซีก การรู้คิด-การรับรู้ความรู้สึกบกพร่องกลืนลำบาก มีปัญหาการทรงตัว การเดิน กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ลักษณะที่พบมากที่สุด คือ ภาวะแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก ร้อยละ 883 ทำให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่รอดชีวิตต้องอยู่ในภาวะที่พึ่งพิง ต้องได้รับการดูแลจากผู้ดูแล เนื่องจากช่วยเหลือตนเองได้ลดลง