การพัฒนารูปแบบการสื่อสารทางการพยาบาลแบบไร้รอยต่อโดยใช้เทคนิค SBAR ในระยะเปลี่ยนผ่านการดูแล งานผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา / รัชนี ศิริวัฒน์

By: รัชนี ศิริวัฒน์Contributor(s): นิตยา โรจน์ทินกร | สุรัตน์ คร่ำสุข | จิราพร พอกพูนทรัพย์ | จันทร์ทิรา เจียรณัยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การสื่อสาร -- เทคนิค SBARGenre/Form: การพยาบาล Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2562) หน้า 60-69Summary: ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินเป็นกลุ่มบุคคลที่ได้รับบาดเจ็บหรือมีการเจ็บป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญ จำเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและการบำบัดรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือเกิดอาการรุนแรงขึ้น จากการบาดเจ็บหรืออาการป่วยนั้น1 เมื่อผู้ป่วยกลุ่มนี้มาถึงโรงพยาบาล ห้องฉุกเฉินจึงเป็นจุดบริการด่านหน้าที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเวลาและการตัดสินใจที่ถูกต้องมีความสำคัญอย่างยิ่งกับความเป็นความตายของผู้ป่วย จึงควรมีระบบบริหารจัดการที่ได้มาตรฐาน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินเป็นกลุ่มบุคคลที่ได้รับบาดเจ็บหรือมีการเจ็บป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญ จำเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและการบำบัดรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือเกิดอาการรุนแรงขึ้น จากการบาดเจ็บหรืออาการป่วยนั้น1 เมื่อผู้ป่วยกลุ่มนี้มาถึงโรงพยาบาล ห้องฉุกเฉินจึงเป็นจุดบริการด่านหน้าที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเวลาและการตัดสินใจที่ถูกต้องมีความสำคัญอย่างยิ่งกับความเป็นความตายของผู้ป่วย จึงควรมีระบบบริหารจัดการที่ได้มาตรฐาน