ปัจจัยทำนายการเพิ่มน้ำหนักตัวในไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน / เบญจพร ฐิติญาณวิโรจน์

By: เบญจพร ฐิติญาณวิโรจน์Contributor(s): ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง | ฉวีวรรณ อยู่สำราญ | นพพร ว่องสิริมาศ | ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสารCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ภาวะน้ำหนักเกินGenre/Form: สตรีตั้งครรภ์ Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2562) หน้า 170-179Summary: สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย เพื่อสะสมพลังงานและสารอาหารสำหรับทารกในครรภ์5,6 ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวขณะตั้งครรภ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวในไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ ซึ่งจะไม่พบอาการคลื่นไส้อาเจียนแล้ว และสามารถรับประทานอาหารได้มากขึ้น จึงทำให้น้ำหนักตัวขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเพิ่มมากที่สุดตลอดการตั้งครรภ์สำหรับการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ พบว่า สตรีตั้งครรภ์มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนขาดความเชื่อมั่น ไม่พึงพอใจในรูปร่างและภาพลักษณ์ของตนเอง และเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย เพื่อสะสมพลังงานและสารอาหารสำหรับทารกในครรภ์5,6 ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวขณะตั้งครรภ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวในไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ ซึ่งจะไม่พบอาการคลื่นไส้อาเจียนแล้ว และสามารถรับประทานอาหารได้มากขึ้น จึงทำให้น้ำหนักตัวขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเพิ่มมากที่สุดตลอดการตั้งครรภ์สำหรับการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ พบว่า สตรีตั้งครรภ์มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนขาดความเชื่อมั่น ไม่พึงพอใจในรูปร่างและภาพลักษณ์ของตนเอง และเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าได้