การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะตนเองในการปฏิบัติการพยาบาล : กรณีศึกษาการหย่าเครื่องช่วยหายใจของผู้ป่วยผ่าตัด วิภาดา ผ่องจิต, ชมนาด วรรณพรศิริ, อินทิพร โฆษิตานุฤทธิ์ และ ศุภกิจ เครือกลัด

By: วิภาดา ผ่องจิตContributor(s): ชมนาด วรรณพรศิริ | อินทิพร โฆษิตานุฤทธิ์ | ศุภกิจ เครือกลัดCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การผ่าตัดOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและสุขภาพ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2565) หน้า 1-11Summary: ศัลยกรรมหรือการผ่าตัด คือ วิธีหนึ่งในการรักษาอาการบาดเจ็บ โรค หรือความผิดปกติทางร่างกายบางอย่างที่ไม่สามารถรักษาให้ทุเลาหรือหายขาดได้ด้วยวิธีการอื่น ส่วนใหญ่แล้วการ ผ่าตัด จะเกิดขึ้นในกรณีที่ต้องจัดการกับโรคหรืออาการบาดเจ็บเฉียบพลัน มักไม่ค่อยเกิดขึ้นในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง หรือโรคที่ดำเนินไปอย่างช้า ๆ เว้นแต่ผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการผ่าตัดจริงๆ นอกจากเครื่องมือเฉพาะที่แพทย์ต้องใช้ในการผ่าตัดแต่ละประเภทแล้ว ก็ยังมีอุปกรณ์อีกหลายชิ้นที่คอยช่วยตรวจสอบและติดตามผลระหว่างผ่าตัดและหลังผ่าตัด เช่น เครื่องวัดอัตราการเต้นของหัวใจ เครื่องวัดความดันโลหิต และไม่ว่าจะเป็นการผ่าตัดชนิดไหน ก็อาจเกิดอาการแทรกซ้อนได้ทั้งในระหว่างผ่าตัดและหลังผ่าตัด อาการแทรกซ้อนจากการผ่าตัดที่พบได้บ่อย เช่น การติดเชื้อ ภาวะเลือดออกมากผิดปกติ ปฏิกิริยาตอบสนองต่อยาระงับความรู้สึก การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ศัลยกรรมหรือการผ่าตัด คือ วิธีหนึ่งในการรักษาอาการบาดเจ็บ โรค หรือความผิดปกติทางร่างกายบางอย่างที่ไม่สามารถรักษาให้ทุเลาหรือหายขาดได้ด้วยวิธีการอื่น ส่วนใหญ่แล้วการ ผ่าตัด จะเกิดขึ้นในกรณีที่ต้องจัดการกับโรคหรืออาการบาดเจ็บเฉียบพลัน มักไม่ค่อยเกิดขึ้นในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง หรือโรคที่ดำเนินไปอย่างช้า ๆ เว้นแต่ผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการผ่าตัดจริงๆ นอกจากเครื่องมือเฉพาะที่แพทย์ต้องใช้ในการผ่าตัดแต่ละประเภทแล้ว ก็ยังมีอุปกรณ์อีกหลายชิ้นที่คอยช่วยตรวจสอบและติดตามผลระหว่างผ่าตัดและหลังผ่าตัด เช่น เครื่องวัดอัตราการเต้นของหัวใจ เครื่องวัดความดันโลหิต และไม่ว่าจะเป็นการผ่าตัดชนิดไหน ก็อาจเกิดอาการแทรกซ้อนได้ทั้งในระหว่างผ่าตัดและหลังผ่าตัด อาการแทรกซ้อนจากการผ่าตัดที่พบได้บ่อย เช่น การติดเชื้อ ภาวะเลือดออกมากผิดปกติ ปฏิกิริยาตอบสนองต่อยาระงับความรู้สึก การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ