เทคนิคการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น) / ประสาท สอ้านวงศ์

By: ประสาท สอ้านวงศ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การเรียนการสอน -- คณิตศาสตร์Genre/Form: การจัดการเรียนรู้ Online resources: บทความฉบับเต็มภาษไทย In: วิชาการ ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565) หน้า 27-40Summary: ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดให้สอนเรื่อง ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ค 1.1 ป.6/4 , ค 1.1 ป.6/5 และ ค 1.1 ป.6/6) ผู้สอน ส่วนมากสอนโดยใช้การบอกให้ผู้เรียนจำโดยเริ่มสอนการหา ห.ร.ม. ของจำนวนที่กำหนด จากการอธิบายความหมายของ “ตัวหาร” “ตัวหารร่วม” “ตัวหารร่วมมาก” แล้วบอกว่าวิธีการหา ห.ร.ม. มี 3 วิธี คือ วิธีที่ 1 การหาตัวหารร่วม วิธีที่ 2 การแยกตัวประกอบ และ วิธีที่ 3 การตั้งหาร จากนั้นจะแสดงการหา ห.ร.ม. ด้วยวิธีต่าง ๆ การสอนหา ค.ร.น. ก็จะสอนในทำนองเดียวกัน ส่วนเรื่องการนำความรู้ไปใช้ซึ่งเป็น เรื่องที่ต้องสอนให้วิเคราะห์ปัญหา กลับเริ่มสอนโดยบอกหัวข้อ แล้วบอกว่ามีหลักการจำ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดให้สอนเรื่อง ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) และตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ค 1.1 ป.6/4 , ค 1.1 ป.6/5 และ ค 1.1 ป.6/6) ผู้สอน ส่วนมากสอนโดยใช้การบอกให้ผู้เรียนจำโดยเริ่มสอนการหา ห.ร.ม. ของจำนวนที่กำหนด จากการอธิบายความหมายของ “ตัวหาร” “ตัวหารร่วม” “ตัวหารร่วมมาก” แล้วบอกว่าวิธีการหา ห.ร.ม. มี 3 วิธี คือ วิธีที่ 1 การหาตัวหารร่วม วิธีที่ 2 การแยกตัวประกอบ และ วิธีที่ 3 การตั้งหาร จากนั้นจะแสดงการหา ห.ร.ม. ด้วยวิธีต่าง ๆ การสอนหา ค.ร.น. ก็จะสอนในทำนองเดียวกัน ส่วนเรื่องการนำความรู้ไปใช้ซึ่งเป็น เรื่องที่ต้องสอนให้วิเคราะห์ปัญหา กลับเริ่มสอนโดยบอกหัวข้อ แล้วบอกว่ามีหลักการจำ