การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของนักศึกษาพยาบาล : กรณีศึกษาฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตในชุมชน พเยาว์ พงษ์ศักดิ์ชาติ, พรรณภา เรืองกิจ, วราภรณ์ ภูคา และ อัจฉริยา เจริญเกียรติ

By: พเยาว์ พงษ์ศักดิ์ชาติContributor(s): พรรณภา เรืองกิจ | วราภรณ์ ภูคา | อัจฉริยา เจริญเกียรติCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- การดูแลOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2565) หน้า 148-170Summary: การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน เป็นงานที่มีความสําคัญเป็นอย่างยิ่งในสังคมไทยที่กําลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากประชากรผู้สูงอายุมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโน้มอายุยืนยาวขึ้นเช่นกัน ดังนั้นการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับระบบการจัดการดูแลผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งสําคัญ ซึ่งจะทําให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและดํารงชีวิตอยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรีต่อไป การดูแลผู้สูงอายุ มีลักษณะและความต้องการที่แตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ได้แก่ 1.การดูแลภายในครอบครัว คือ การให้ความดูแลเอาใจใส่แก่ผู้สูงอายุในปัจจัยสี่ ไม่ว่าจะเป็นการให้อาหาร เสื้อผ้า จัดที่อยู่อาศัย การดูแลสุขภาพ รักษาพยาบาล รวมทั้งการให้เงิน การดูแลเอาใจใส่ทั้งด้านร่างกายจิตใจ 2.การดูแลในสถาบัน แยกเป็นการดูแลในสถานสงเคราะห์ และการดูแลในสถานพยาบาลหรือสถานที่รับดูแลเฉพาะผู้สูงอายุ 3.การดูแลโดยชุมชน เพื่อสร้างจิตสํานึกให้คนในชุมนเกิดการแก้ไขปัญหา ระดมความร่วมมือและพัฒนาบริการต่างๆ ให้แก่สมาชิกในชุมชนของตนระหว่างผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์การ และ สถาบันทางสังคมต่างๆ ซึ่งมีรูปแบบและลักษณะบริการแตกตางกัน และ 4.การดูแลในสถานการณ์พิเศษ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน เป็นงานที่มีความสําคัญเป็นอย่างยิ่งในสังคมไทยที่กําลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากประชากรผู้สูงอายุมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโน้มอายุยืนยาวขึ้นเช่นกัน ดังนั้นการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับระบบการจัดการดูแลผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งสําคัญ ซึ่งจะทําให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและดํารงชีวิตอยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรีต่อไป การดูแลผู้สูงอายุ มีลักษณะและความต้องการที่แตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ได้แก่ 1.การดูแลภายในครอบครัว คือ การให้ความดูแลเอาใจใส่แก่ผู้สูงอายุในปัจจัยสี่ ไม่ว่าจะเป็นการให้อาหาร
เสื้อผ้า จัดที่อยู่อาศัย การดูแลสุขภาพ รักษาพยาบาล รวมทั้งการให้เงิน การดูแลเอาใจใส่ทั้งด้านร่างกายจิตใจ 2.การดูแลในสถาบัน แยกเป็นการดูแลในสถานสงเคราะห์ และการดูแลในสถานพยาบาลหรือสถานที่รับดูแลเฉพาะผู้สูงอายุ 3.การดูแลโดยชุมชน เพื่อสร้างจิตสํานึกให้คนในชุมนเกิดการแก้ไขปัญหา ระดมความร่วมมือและพัฒนาบริการต่างๆ ให้แก่สมาชิกในชุมชนของตนระหว่างผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์การ และ
สถาบันทางสังคมต่างๆ ซึ่งมีรูปแบบและลักษณะบริการแตกตางกัน และ 4.การดูแลในสถานการณ์พิเศษ