แนวทางการใช้เรื่องเล่าท้องถิ่นสื่อความหมายในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดลพบุรี จริยา สุพรรณ

By: จริยา สุพรรณCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: อารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565) หน้า 250-279Summary: Creative Tourism คือ การพัฒนาการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นความได้เปรียบด้วยการสร้างมูลค่า (Value Creation) ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บนพื้นฐานแห่งความเป็นไทย วิถีชีวิต ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นต้นทุนการท่องเที่ยวที่ประเทศไทยเรามีอยู่แล้ว และไม่ว่าจะใช้มากเท่าไหร่ก็ไม่ทำให้ต้นทุนนี้หมดไป แต่กลับเป็นผลดีที่ได้ร่วมกันอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ไว้ ปัจจุบัน อพท. มีกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 13 กิจกรรม ในพื้นที่พิเศษทั้ง 6 พื้นที่ โดยกิจกรรมที่ถูกคัดเลือกนั้น มีความเหมาะสมที่จะนำมาพัฒนาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างแท้จริง เพราะสามารถสร้างความผูกพัน สร้างความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทั้งยังเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ได้มีประสบการณ์ตรงร่วมกับเจ้าของพื้นที่ผ่านการลงมือปฏิบัติ อันจะนำไปสู่ความชื่นชมและเข้าใจในจิตวิญญาณของพื้นที่ และในขณะเดียวกันก็ได้พัฒนาศักยภาพของตัวเองไปพร้อมกัน ทั้งนี้ เป้าหมายสำคัญของการดำเนินงานคือ ความสุขที่แท้จริงของชุมชนบนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

Creative Tourism คือ การพัฒนาการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นความได้เปรียบด้วยการสร้างมูลค่า (Value Creation) ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน บนพื้นฐานแห่งความเป็นไทย วิถีชีวิต ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นต้นทุนการท่องเที่ยวที่ประเทศไทยเรามีอยู่แล้ว และไม่ว่าจะใช้มากเท่าไหร่ก็ไม่ทำให้ต้นทุนนี้หมดไป แต่กลับเป็นผลดีที่ได้ร่วมกันอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ไว้ ปัจจุบัน อพท. มีกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 13 กิจกรรม ในพื้นที่พิเศษทั้ง 6 พื้นที่ โดยกิจกรรมที่ถูกคัดเลือกนั้น มีความเหมาะสมที่จะนำมาพัฒนาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างแท้จริง เพราะสามารถสร้างความผูกพัน สร้างความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทั้งยังเปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ได้มีประสบการณ์ตรงร่วมกับเจ้าของพื้นที่ผ่านการลงมือปฏิบัติ อันจะนำไปสู่ความชื่นชมและเข้าใจในจิตวิญญาณของพื้นที่ และในขณะเดียวกันก็ได้พัฒนาศักยภาพของตัวเองไปพร้อมกัน ทั้งนี้ เป้าหมายสำคัญของการดำเนินงานคือ ความสุขที่แท้จริงของชุมชนบนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน