การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตามแนวคิดประวัติศาสตร์บอกเล่า เพื่อส่งเสริมการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ร่วมกัน สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา / สาวิตรี โชดก

By: สาวิตรี โชดกContributor(s): อรพิณ ศิริสัมพันธ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นGenre/Form: การจัดการเรียนรู้ Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: มนุษยสังคมปริทัศน์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) หน้า 57-77Summary: การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ในประเทศไทยที่ผ่านมายังคงประสบปัญหาการที่ผู้เรียนไม่เห็นความสำคัญของการเรียนประวัติศาสตร์เนื้อหาของวิชาประวัติศาสตร์ที่เป็นนามธรรม ทำให้ผู้เรียนไม่สามารถสัมผัสกับประวัติศาสตร์เหล่านี้ได้โดยตรง การเรียนการสอนจึงอาศัยการอ่าน การท่องจำจากตำราเพื่อลำดับเหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ โดยผู้เรียนไม่ได้ใช้กระบวนการเรียนรู้และมีความเข้าใจประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาในรายวิชาประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นการสอนแบบบรรยายเพื่อถ่ายทอดความรู้ มากกว่าการส่งเสริมให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะดังกล่าวทำให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ในประเทศไทยที่ผ่านมายังคงประสบปัญหาการที่ผู้เรียนไม่เห็นความสำคัญของการเรียนประวัติศาสตร์เนื้อหาของวิชาประวัติศาสตร์ที่เป็นนามธรรม ทำให้ผู้เรียนไม่สามารถสัมผัสกับประวัติศาสตร์เหล่านี้ได้โดยตรง การเรียนการสอนจึงอาศัยการอ่าน การท่องจำจากตำราเพื่อลำดับเหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ โดยผู้เรียนไม่ได้ใช้กระบวนการเรียนรู้และมีความเข้าใจประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาในรายวิชาประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นการสอนแบบบรรยายเพื่อถ่ายทอดความรู้ มากกว่าการส่งเสริมให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะดังกล่าวทำให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย