การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรและผลงานสร้างสรรค์สำหรับนักเรียน / ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน

By: ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนินContributor(s): สุวิมล สพฤกษ์ศรี | สราญจิต อ้นพา | บุญรอด ชาติยานนท์ | เอกสิทธิ์ ชนินทรภูมิ | เอกชัย ภูมิระรื่นCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): กิจกรรมเป็นฐาน -- เทคโนโลยีGenre/Form: การจัดการเรียนรู้ Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: มนุษยสังคมปริทัศน์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565) หน้า 146-159Summary: การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานไว้ว่า เป็นทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมซึ่งเป็นทฤษฏีการเรียนรู้ด้วยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivist) อย่างหนึ่ง โดยเนื้อหาส าคัญคือ ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมในอดีตกับความรู้ใหม่หรือประสบการณ์ใหม่ในปัจจุบันได้ ผู้เรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ใหม่ได้ตลอดเวลาและเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการการเรียนรู้อย่างจริงจัง ผู้อำนวยความสะดวก หรือผู้สนับสนุนการเรียนรู้ (Facilitator) มีบทบาทเป็นผู้มีส่วนร่วมในการสร้างสถานการณ์ปัญหาในโลกความจริงแก่ผู้เรียนเป็นสิ่งแรกไม่ใช่เป็นผู้ชี้น าวิธีการแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนโดยตรง การบูรณาการองค์ประกอบต่างๆของทฤษฏีการเรียนรู้ที่ยึดกิจกรรมเป็นฐานนั้นเป็นวิธีการที่น่าสนใจในการส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานไว้ว่า เป็นทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมซึ่งเป็นทฤษฏีการเรียนรู้ด้วยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivist) อย่างหนึ่ง โดยเนื้อหาส าคัญคือ ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยการเชื่อมโยงความรู้เดิมในอดีตกับความรู้ใหม่หรือประสบการณ์ใหม่ในปัจจุบันได้ ผู้เรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ใหม่ได้ตลอดเวลาและเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการการเรียนรู้อย่างจริงจัง ผู้อำนวยความสะดวก หรือผู้สนับสนุนการเรียนรู้ (Facilitator) มีบทบาทเป็นผู้มีส่วนร่วมในการสร้างสถานการณ์ปัญหาในโลกความจริงแก่ผู้เรียนเป็นสิ่งแรกไม่ใช่เป็นผู้ชี้น าวิธีการแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนโดยตรง การบูรณาการองค์ประกอบต่างๆของทฤษฏีการเรียนรู้ที่ยึดกิจกรรมเป็นฐานนั้นเป็นวิธีการที่น่าสนใจในการส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน