การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในโปรแกรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น / ปริษณา อยู่คง

By: ปริษณา อยู่คงContributor(s): อาภาพร เผ่าวัฒนา | วันเพ็ญ แก้วปานCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การป้องกันการตั้งครรภ์Genre/Form: การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสาธารณสุข ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2562) หน้า 18-32Summary: การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์สูงกว่าการตั้งครรภ์ทั่วไปการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนขยายโอกาส ในพื้นที่อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์จำนวน 64 ราย เลือกแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มทดลอง (32 ราย) กลุ่มควบคุม (32 ราย) กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระยะเวลา 4 สัปดาห์ ประกอบด้วยการส่งเสริมทัศนคติ ความรู้ ทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จัดกิจกรรม 4 ครั้งๆ ละ 2 ชั่วโมง เก็บข้อมูล 3 ครั้ง คือก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 1 สัปดาห์ และระยะติดตามผลสัปดาห์ที่ 8 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (try out ที่ รร.มัธยมศึกษาในพื้นที่ อ.ปราสาท 2 แห่ง) เก็บข้อมูล 3 ครั้งคือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลองใน 1 สัปดาห์ และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 8
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์สูงกว่าการตั้งครรภ์ทั่วไปการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนขยายโอกาส ในพื้นที่อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์จำนวน 64 ราย เลือกแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มทดลอง (32 ราย) กลุ่มควบคุม (32 ราย) กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระยะเวลา 4 สัปดาห์ ประกอบด้วยการส่งเสริมทัศนคติ ความรู้ ทักษะในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จัดกิจกรรม 4 ครั้งๆ ละ 2 ชั่วโมง เก็บข้อมูล 3 ครั้ง คือก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 1 สัปดาห์ และระยะติดตามผลสัปดาห์ที่ 8 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (try out ที่ รร.มัธยมศึกษาในพื้นที่ อ.ปราสาท 2 แห่ง) เก็บข้อมูล 3 ครั้งคือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลองใน 1 สัปดาห์ และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 8